กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย) ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย)

ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4129-03-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4129-03-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มือนับเป็นอวัยวะที่ทำให้มนุษย์ทุกคนหยิบของต่าง ๆ ตั้งแต่มนุษย์เกิดมาลืมตาดูโลกขึ้นมาในเวลาแรกหรือในเวลาตอนเช้าไม่ว่าจะเป็นการล้างหน้าแปรงฟันอาบน้ำการสัมผัสสิ่งของรวมทั้งหยิบของและการหยิบอาหารเข้าปากมือจึงอาจจะนำเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและหากมีผู้เป็นโรคติดต่อมืออาจเป็นอวัยวะตัวกลางในการแพร่พันธุ์สู่ผู้อื่นโดยจากการสัมผัสทางตรงหรือผ่านตัวกลางที่จะพบบ่อยที่สุดที่ผู้คนมากมายโดยเกิดจากการไม่ล้างมือหลังจากที่มีการทำกิจกรรมในแต่ละวันต่าง ๆ เช่นโรคมือเท้าปากซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุน้อยกว่า5ปีมักระบาดในช่วงหน้าฝนโรคที่เกิดจากโรคไวรัสกลุ่ม“แอนเตอโรไวรัส” การที่เป็นโรคมือเท้าปากอันเกิดจากการรับประทานอาหารโดยขาดความสะอาดเช่นไม่ได้ล้างมือก่อนรับประทานอาหารการดื่มน้ำหรือเด็กที่ดูดเลียนิ้วมือซึ่งโรคนี้จะมีอาการโดยทั่วไปแล้วมักจะมีอาการเจ็บคอจะมีตุ่มฟองใสจะมีขนาดปริมาณ 1 – 2 มิลลิลิตรบนฐานซึ่งจะแสดงด้วยสีแดงซึ่งกระจายอยู่ในบริเวณคอหอยและจะมีตุ่มฟองใสจะขยายกลายเป็นแผลร้อนในโดยส่วนมากจะพบบ่อยที่บริเวณด้านหน้าของต่อมทอมซิลและมักจะเป็นอยู่โดยจะใช้เวลา 4 – 5 วัน หลังจากเริ่มมีอาการได้มีรายงานพบว่าอาการซักจากไข้สูงโดยมีอัตราร้อยละ 5 % โดยมีวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดคือการล้างมือให้ถูกวิธีโดยใช้สบู่และล้างด้วยน้ำที่สะอาดหลาย ๆ ครั้งโดยเฉพาะเมื่อได้สัมผัสกับเด็กที่ป่วยต้องปฏิบัติให้ถูกวิธีให้ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งที่ออกจากห้องน้ำหลังทำกิจกรรมใช้ช้อนกลางทุกครั้งที่ตักอาหารรับประทานอาหารร่วมกันและหลีกเลี่ยงการใช้แก้วน้ำดื่มหรือใช้หลอดดูดดื่มร่วมกันหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วยโดยสวมถุงมือเมื่อจะลงมือทำแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปากเปื่อยโรคมือเท้าปากเปื่อยเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส พบได้บ่อยในทารกและเด็กเล็ก ทำให้มีอาการไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว จัดเป็นโรคที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่อยู่ไม่น้อยและบางรายอาจมีภาวะแทรกซ้อน จนถึงเสียชีวิตได้ ดังนั้นเพื่อสร้างเสริมความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคมือเท้าปากดังกล่าว  จึงได้จัดโครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียน (การอบรมส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแก่ครูและ ผู้ปกครอง)โดยมีเป้าหมายคือ เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของเด็กทั้งที่บ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้มีความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ส่งเสริมให้มีสุขภาพดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมอีกทั้งเพื่อให้เป็นไปตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 ประกาศ ณ วันที่ 25 มีนาคม 2557 ตัวอย่างกิจกรรมบริการสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (ข้อ2) (2.11 การพัฒนาความรู้และทักษะการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน แก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ครูผู้ดูแลเด็ดผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคมือเท้าปากและโรคติดต่ออื่น ๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.ครูผู้ดูแลเด็ดผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในหลักโภชนาการและสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย ได้อย่างถูกต้องถูกวิธีตามหลักโภชนาการที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมเด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(การป้องกันโรคมอเท้าปากและโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย) จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L4129-03-21

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด