กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางพิมพ์วิภา วงศ์สวัสดิ์ ครู รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว




ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน อุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ ของประเทศไทย จากข้อมูลรายงานกระทรวงสาธารณสุขว่าในปี 2559 พบว่าการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในประเทศไทย เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 1,400 คน หรือเฉลี่ยวันละ 4 คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ) จากมูลเหตุดังกล่าว หากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก นอกจากการสรางทักษะการว่ายน้ำให้สามารถช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยเหลือคนจมน้ำ และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลที่มีความรู้และมีทักษะในเรื่องดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน้ำ และการช่วยฟื้นฟูคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่ทีมอาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)
  2. เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว และคนประสบภัยทางน้ำ ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว ครูผู้ดูแลเด็ก อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี) จำนวน 50 คน มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการป้องกันการจมน้ำและสามารถให้การช่วยเหลือฟ้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ภาคเช้า
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือการฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (CPR) โดยหลังจากบรรยายให้ความรู้แล้ว ได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองปฏิบัติจริง ซึ่งผู้เข้ารับการอบรม สามารถเรียนรู้วิธีการทำ (CPR) และสามารถทำ (CPR) ได้ถูกต้องทุกคน ภาคบ่าย
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ โดยแนะนำวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำ ว่าเมื่อประสบเหตุพบคนจมน้ำ จะมีวิธีการช่วยเหลือได้อย่างไร และได้สาธิตวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้น และให้ผู้เข้ารับการอบรม ได้ทดลองปฏิบัติในการช่วยเหลือคนจมน้ำ ซึ่งผู้เข้ารับการอบรม ได้รับความรู้และเมื่อพบผู้ประสบเหตุ สามารถให้การช่วยเบื้องต้นได้อย่างถูกวิธี และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นปฏิบัติได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผุ้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 53 คน ได้รับความรู้ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเกี่ยวกับการช่วยเหลือการฟื้นคืนชีพ และการช่วยเหลือคนจมน้ำ และได้ทดลองปฏิบัติจริง ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้ และมีการจัดตั้งกลุ่มผู้ก่อการดี มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือการฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (CPR) โดยหลังจากบรรยายให้ความรู้แล้ว ได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทดลองปฏิบัติจริง ซึ่งผู้เข้ารับการอบรม สามารถเรียนรู้วิธีการทำ (CPR) และสามารถทำ (CPR) ได้ถูกต้องทุกคน
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ โดยแนะนำวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำ ว่าเมื่อประสบเหตุพบคนจมน้ำ จะมีวิธีการช่วยเหลือได้อย่างไร และได้สาธิตวิธีการช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้น และให้ผู้เข้ารับการอบรม ได้ทดลองปฏิบัติในการช่วยเหลือคนจมน้ำ ซึ่งผู้เข้ารับการอบรม ได้รับความรู้และเมื่อพบผู้ประสบเหตุ สามารถให้การช่วยเบื้องต้นได้อย่างถูกวิธี และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นปฏิบัติได้
3.มีการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี) อย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน้ำ และการช่วยฟื้นฟูคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่ทีมอาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)
ตัวชี้วัด : ทีมอาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการช่วยเหลือคนจมน้ำ และการคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่ผู้ประสบอุบัติเหตุทางน้ำ
50.00 53.00

 

2 เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว และคนประสบภัยทางน้ำ ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว และคนประสบภัยทางน้ำ ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ร้อยละ 100
20.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน้ำ และการช่วยฟื้นฟูคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่ทีมอาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี) (2) เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว และคนประสบภัยทางน้ำ ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟื้นฟูความรู้อาสาสมัคร (ทีมผู้ก่อการดี)ในการป้องกันและช่วยเหลือคนจมน้ำ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิมพ์วิภา วงศ์สวัสดิ์ ครู รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกว่าว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด