กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์


“ โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย ”

ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านบากง

ชื่อโครงการ โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย

ที่อยู่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาลีอายร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาลีอายร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ร่วมมือกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเผยแพร่โครงการคัดแยกขยะแก่โรงเรียนและชุมชน ให้เกิดโรงเรียน/ชุมชนปลอดขยะ ตลอดจนชาวบ้านทุกครัวเรือนมีทัศนคติที่ดีและมีสุขภาวะที่ดีในการดาเนินชีวิตความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนในอนาคต นั้น ปัจจุบันโรงเรียนบ้านบากง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตาบลตาลีอายร์ อาเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้ประสบปัญหาเรื่องขยะมาเป็นลาดับแรก เนื่องจากปริมาณขยะรายวันที่เกิดขึ้นในโรงเรียนมีเป็นจานวนมาก ซึ่งเกิดจากสาเหตุของการคัดแยกขยะไม่ถูกต้อง ทาให้มีปริมาณขยะตกค้างเป็นจานวนมาก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในโรงเรียนส เช่น บริเวณอาคารเรียนสกปรก ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพาหะนาโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงวัน แมลงหวี่ และในบางครั้งมีการเผาขยะในบริเวณโรงเรียน ส่งผลกระทบในด้านสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน จานวน 239 คน เช่น โรคทางเดินหายใจ หอบหืด ตลอดจนชุมชนที่มีบ้านเรือนอยู่บริเวณใกล้เคียง ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาขยะอย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม จึงจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เข้ามาแก้ไขปัญหาดังเกล่าว ดังนั้น โรงเรียนบ้านบากง ได้เห็นความสาคัญในการสร้างสุขภาวะที่ดีให้เกิดขึ้นในโรงเรียน โดยได้จัดทาโครงการโรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย เพื่อให้ความรู้ในการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. ซึ่งถือเป็นการร่วมกับขับเคลื่อนนโยบายขององค์การบริหารส่วนตาบลตาลีอายร์ในประเด็น “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรและนักเรียนในการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. 2. เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด 3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับประเด็น “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ให้เป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดแยกขยะ
  2. กิจกรรมฝึกอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 173
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช.อย่างถูกต้อง
  2. ทำให้บุคลากรและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้องและดาเนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด
  3. ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
  4. ร่วมกันขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับมุ่งไปสู่นโยบาย “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ได้ในที่สุด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการคัดแยกขยะ

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดซือถังขยะแบบมีฝาปิด/มีล้อ จำนวน 4 ถัง เพื่อใช้ในการคัดแยกขยะชนิดต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช.อย่างถูกต้อง
  2. ทำให้บุคลากรและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้องและดาเนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด
  3. ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
  4. ร่วมกันขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับมุ่งไปสู่นโยบาย “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ได้ในที่สุด

 

173 0

2. กิจกรรมฝึกอบรม

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.00 - 08.30 น.  ลงทะเบียน รับเอกสาร แบบประเมินก่อนฝึกอบรม เวลา  08.30 - 09.00 น.  ตัวแทนครูโรงเรียน (เจ้าของโครงการ)กล่าวรายงานสภาพปัญหาขยะมูลฝอยในโรงเรียนที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม  โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านบากง เวลา  09.00 - 10.00  น.  บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง "ประเภทขยะกับการบริหารจัดการขยะแต่ละประเภทให้ถูกต้อง" เวลา  10.00 - 11.00 น.  แบ่งกลุ่มเพื่อฝึกปฏิบัติการคัดแยกขยะแต่ละประเภทให้ถูกต้อง เวลา 11.00 - 12.00 น.  บรรยายเรื่อง "การแก้ไขปัญหาขยะในระยะยาว  ด้วยวิธีการลดปริมาณขยะตามหลัก 3 ช." เวลา  12.00 - 13.30 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.30 - 14.30 น.  แบ่งกลุ่มเพื่อนำเสนอการแก้ไขปัญหาขยะด้วยหลัก 3 ช. ด้วยการจำลองสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน เวลา 14.30 - 15.30 น.  แบ่งกลุ่มเพื่อนำเสนอการแก้ไขปัญหาขยะด้วยหลัก 3 ช. ด้วยการจำลองสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน(ต่อ) เวลา  15.30 - 16.30 น.  ถาม -ตอบ ประเด็นสำคัญ/พิธีปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช.อย่างถูกต้อง
  2. ทำให้บุคลากรและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้องและดาเนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด
  3. ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
  4. ร่วมกันขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับมุ่งไปสู่นโยบาย “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ได้ในที่สุด

 

173 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรและนักเรียนในการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. 2. เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด 3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับประเด็น “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ให้เป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : 1. ทาให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช.อย่างถูกต้อง 2. ทาให้บุคลากรและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้องและดาเนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด 3. ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. ร่วมกันขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับมุ่งไปสู่นโยบาย “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ได้ในที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 173
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 173
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรและนักเรียนในการคัดแยกและบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. 2. เพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีการคัดแยกและบริหารจัดการขยะในโรงเรียนอย่างถูกต้อง สามารถขยายผลต่อไปยังครัวเรือนและชุมชนในที่สุด 3. เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการขยะในพื้นที่ตาบลตาลีอายร์ สาหรับประเด็น “ตาลีอายร์ตาบลสะอาด” ให้เป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โรงเรียนจัดการขยะมูลฝอย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านบากง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด