กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ


“ โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาเระเหนือ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2489-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2489-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทย มีประชากร 64.5 ล้านคน มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 9.4 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 14.57 จำนวนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เท่ากับ 6.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 9.77การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่าสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ โดยอัตราของประชากรผู้สูงอายุไทยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยในปี พ.ศ. 2553 มีสัดส่วนผู้สูงอายุ อยู่ที่ร้อยละ 10.7 ของประชากรรวม หรือ 7.02 ล้านคน และในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 12.8 ของประชากรรวม (8.3 ล้านคน) ปัจจุบันประเทศไทย มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ14.7 (9.5 ล้านคน) และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 20 (14.4 ล้านคน) นั่นหมายถึงว่า ในอีก 12 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)
โรคของผู้สูงอายุส่วนใหญ่เกิดจากความเสื่อมถอยทางด้านร่างกายและเกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตหรือพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โรคของผู้สูงอายุเป็นโรคซึ่งป้องกันได้ชลอความเสื่อมได้ โดยการสนใจสุขภาพตัวเองในการดูแลตนเอง เพราะการดูแลตนเองเป็นการกระทำที่บุคคลได้มีส่วนส่งเสริมให้ตนเองมีชีวิตอยู่รอด มีภาวะสุขภาพและสวัสดิภาพที่ดี (สมจิต หนุเจริญกุล.2537: 23)ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุจากรายงานสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข สำหรับประชากรไทยกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปพบว่าโรคที่ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสียปีสุขภาวะ 5 อันดับแรกในผู้ชายได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวานและโรคมะเร็งตับ ส่วนเพศหญิงได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อมและโรคซึมเศร้าตามลำดับ สำหรับอัตราการพึ่งพิงของประชากรสูงอายุต่อคนวัยทำงานของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2543 เป็น 14.3 และโดยการคาดการณ์พบว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 17.6 ในปี พ.ศ.2553 และ 24.6 ในปี พ.ศ.2563 ซึ่งแบ่งผู้สูงอายุตามความสามารถในการดูแลตนเอง พบว่า มีผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้ 85.3% (5.97 ล้านคน)ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บางส่วน 13.8% (960,000 คน) และ ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองไม่ได้เลย0.9% (63,000 คน) (กระทรวงสาธารณสุข,2557) ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จึงทำให้ความสามารถในการดูแลตนเองลดลง ถ้าผู้สูงอายุมีความสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน จะทำให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข หากไม่สามารถดูแลตนเองได้อาจเนื่องมาจาก อายุ เพศ รายได้ ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม จึงจำเป็นจะต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือ เพื่อให้ความสามารถในการดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น และคงความสามารถนั้นไว้(เฉลิมพล ทรัพย์อุไรรัตน์,2557)ผู้สูงอายุแต่ละช่วงวัยจะมีความแตกต่างกันในเรื่องศักยภาพความต้องการและภาวะสุขภาพ ดังนั้น ผู้สูงอายุจึงต้องการการช่วยเหลือและการดูแลจากผู้อื่นในการดำรงชีวิต(นงนุช แย้มวงษ์,2014)

อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุที่อยู่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีสังคมวัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น นอกจากนี้ยังต้องประสบกับความไม่สงบต่างๆและอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรัง สำหรับตำบลบาเระเหนือมีผู้สูงอายุจำนวน 671 คน และผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 652 คน ผู้สูงอายุติดบ้านจำนวน 16 คนและผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 3 คน จากข้อมูลเบื้องต้นชี้ให้เห็นความจำเป็นในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ และ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแล เพื่อให้ผู้สูงอายุมีภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 7
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 49
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีและใช้รูปแบบการดำเนินงานตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม โดยการจัดบริการสุขภาพ การป้องกันการบาดเจ็บในผู้สูงอายุ
    2. มีภาคีเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพทีม Care giverผู้นำชุมชน อสม. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ที่ต้องดูแลพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
    3. มีการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของศูนย์อนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีสถานที่บริบาลผู้สูงอายุเวลากลางวัน ในชุมชน (Community day care center) โดยมีผู้จัดการดูแลต่อเนื่อง และ / หรือพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ
    4. พัฒนาระบบเครือข่ายบริการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ระดับหมู่บ้านและมีการควบคุม กำกับเป็นระยะๆ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 7
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 49
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างรูปแบบการดำเนินงานตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้สูงอายุระยะยาวปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2489-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาเระเหนือ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด