กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยบาสโลปชบาตานี ประจำปี 2561
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นายภานุวัตร์ ฐิติสิรินันท์
วันที่อนุมัติ 3 สิงหาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 34,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายภานุวัตร์ ฐิติสิรินันท์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กิจกรรมทางกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวของร่างกายโดยกล้ามเนื้อและกระดูกที่ทำให้เกิดการเผาพลาญพลังงาน (องค์การอนามัยโลก 2553)  กิจกรรมทางกายครอบคลุมการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันและในสายอาชีพ  การทำกิจกรรมในเวลาว่าง ซึ่งรวมถึงการออกกำลังกาย  การเล่นกีฬา  การทำกิจกรรมนันทนาการ  การท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์โลกด้านการลดน้ำหนัก กิจกรรมทางกายและสุขภาพ (Global Strategy on diet,Physical Activity and health,WHO,2547) เพื่อเป็นทางเลือกของการทำกิจกรรมทางกาย ดังนี้


จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ประชากรผู้ใหญ่ทั่วโลกประมาณ 1 ใน 4 ยังมีกิจกรรม  ทางกายน้อยกว่า 30 นาทีต่อวัน ส่วนในเด็กที่ควรมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อย 60 นาทีต่อวันก็พบว่า เด็กอายุ 12-13 ปี ยังมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ซึ่ง WHO คาดคะเนว่า ถ้าคนเรามีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอจะเป็นสาเหตุ    การเสียชีวิตของประชากรโลกถึง ร้อยละ 5.5 หรือประมาณ 3.2 ล้านรายต่อปี จากโรคหัวใจ ความดัน มะเร็ง เบาหวาน  ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงจากพฤติกรรมของเราเองทั้งการบริโภคอาหาร ไม่เหมาะสม ความเครียดสะสม สิ่งแวดล้อม  ที่เป็นพิษ ชุมชนเขตเทศบาลเมืองจังหวัดปัตตานี มีประชากรทั้งหมด 80 คน ที่ออกมาทำกิจกรรมทางกายด้วย      "บาสโลป” แบ่งออกเป็นชาย 1 คน หญิง 79 คน แบ่งออกตามช่วงวัยอายุ 30-45 ปีจำนวน 20 คน,อายุ 46 -55 ปี จำนวน 40 คน,อายุ 55 - 60 ปี จำนวน 10 คน,อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 10 คน,  ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนที่นำมา      ซึ่งความต้องการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เพิ่มขึ้น ๕ อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โดยระบบกล้ามเนื้อโครงสร้าง,และไขมันอุดตันในเส้นเลือด ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง อายุ 25-60 ปี และอายุ 60 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ไม่ออกกำลังกาย กินข้าวและขนมหวาน ชา กาแฟ ส่วนใหญ่คนในชุมชนจะเป็น      โรคความดันเลือดสูง,เบาหวานที่ต้องกินยาอย่างต่อเนื่องส่วนวัยอายุ 5-15 ปี,15-25 ปี วัยนี้เป็นวัยรุ่นกำลังกิน กำลังนอน ไม่ยอมออกกำลังกาย 


ทางชมรมแอโรบิคเทศบาลเมืองปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยบาสโลปชบาตานี ประจำปี 2561 โดยการใช้ จังหวะชะชะช่า มาผสมผสานกับเต้นออกกำลังกาย เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์    ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์ เสริมสร้างความสามัคคี ความสนุกสนาน นอกจากการออกกำลังกายด้วยบาสโลปสามารถช่วยในการลดความเสี่ยงของการเกิดโรคแล้ว ยังเป็นการนำศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ผสมผสานกับการออกกำลังกายด้วยบาสโลป อีกทั้งเป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00

ศึกษาพฤติกรรม/ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4.2  ประสานงานกองสาธารณสุขเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ    กลุ่มเป้าหมาย และกำหนดวัน เวลาดำเนินการ 4.3  เชิญวิทยากรให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลป   4.4 จัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลป สัปดาห์ละ ๕ วันๆละ 1 ชม. 4.5 ดำเนินงานตามโครงการ - ประเมินผลก่อนเข้าร่วมโครงการ - ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายบาสโลป - ประเมินผลหลังเข้าร่วมโครงการ 4.6 สรุปประเมินผลการจัดโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนสู่ในชุมชน         2. ประชาชนทุกช่วงวัยเกิดกิจกรรมทางกายรูปแบบของบาสโลปเพิ่มขึ้น         3. เกิดพื้นที่เหมาะสมกับการทำกิจกรรมทางกายด้วยบาสโลป         4. ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและมีความรู้ความเข้าใจสามารถออกแบบเกี่ยวกับบาสโลป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ส.ค. 2561 12:11 น.