กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตำบลสุขภาพดี ชีวีมีสุข
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหันทราย
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 74,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววราภรณ์ ฉลาดจิตร์
พี่เลี้ยงโครงการ นายดอุลย์ หาญชิงชัย
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหันทราย อำเภออรัญญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
ละติจูด-ลองจิจูด 13.806,102.452place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 มิ.ย. 2561 25 ก.ย. 2561 74,700.00
รวมงบประมาณ 74,700.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 980 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 2820 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
20.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
10.00
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย
30.00
4 มาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ(จำนวนมาตรการ)
0.00
5 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)
100.00
6 จำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (มาตรการ)
0.00
7 จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ร้าน)
10.00
8 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(คน)
25.00
9 จำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม(แห่ง)
3.00
10 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ (คน)
25.00
11 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
90.00
12 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
14.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน พบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้น ตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ จากความเร่งรีบและแข่งขันในชีวิตประจำวันทำให้คนลืมนึกถึงและใส่ใจกับเรื่องสุขภาพจะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมอื่นๆที่เกี่ยวโยงกับสุขภาพทำให้คนส่วนใหญ่ละเลย ไม่ใส่ใจจนทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาอย่างเห็นได้ชัด หลายคนที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความเชื่อมโยงด้านพันธุกรรม แต่พบว่าสาเหตุการเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรมล้วนๆ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สมารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน, ความเครียด, ขาดการออกกำลังกาย, การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ในกลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มอายุที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำเป็นอย่างยิ่งในการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลกลุ่มเสี่ยงและมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ เกิดมาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชุมชน จากสถิติผู้ป่วยโรคเรื้อรังย้อนหลัง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหันทราย ปี 2560 จำแนกได้ดังนี้ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 236 คน โรคเบาหวาน 64 คน  ผู้ป่วยที่เป็นทั้งความดันและเบาหวาน จำนวน 72 คน ซึ่งในปี 2559 มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นจำนวน 7 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 6 คน ในปี 2558 มีผู้ป่วยเบาหวานใหม่เพิ่มขึ้น  2 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่เพิ่มขึ้น 4 คน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และจากการคัดกรอง ผู้มีภาวะเสี่ยงในต้นปี 2561 พบประชากรกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ร้อยละ 19.45 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ0.34 รายมีค่าดัชนีมวลกายเกินในทุกกลุ่มถึง ร้อยละ 28.12

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

20.00 30.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

30.00 20.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

100.00 80.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(มาตรการ)

0.00 1.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

10.00 35.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)

25.00 50.00
7 เพื่อลดจำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุม

จำนวนสถานที่ในชุมชนที่มีแหล่งจำหน่ายและสถานที่มั่วสุมลดลงเหลือ(แห่ง)

3.00 0.00
8 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

25.00 50.00
9 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

90.00 60.00
10 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

14.00 10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 75,700.00 5 74,700.00
24 - 25 มิ.ย. 13 ประชุมเครือข่ายผู้ดำเนินโครงการ 0 11,500.00 11,500.00
17 พ.ค. 61 คัดกรองกลุ่มเสี่ยงซำ้ 0 3,600.00 3,600.00
21 พ.ค. 61 ปรับปรุงศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบล 0 14,500.00 14,500.00
19 ส.ค. 61 อบรมโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 39,600.00 38,600.00
19 ส.ค. 61 ประชุมติดตามผลการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง 0 6,500.00 6,500.00
  1. ประชุมเครือข่ายผู้ดำเนินโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นแกนนำ/อสม. ผู้นำชุมชน อบต.กลุ่มเสี่ยง เพื่อร่วมค้นหาและกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ให้เกิดความยั่งยืนต่อเนื่อง และสร้างมาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของชุมชน
  2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงซ้ำ เมื่อได้กลุ่มเสี่ยง คือ กลุ่มที่มีรอบเอวเกิน ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการการตำบลสุขหันทราย     3. เปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ดำเนินการตามโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    1. ปรับปรุงศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบล 1 ศูนย์
    2. จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกาย มีสนามกีฬา เครื่องออกกำลังกาย
    3. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรค DM และ HT ที่ผ่านการอบรมในชุมชน   7. ประเมินผลรายกลุ่ม ตัวแทนทุกกลุ่มถอดบทเรียนร่วมกันสรุปโครงการ คืนข้อมูลติดตามผลต่อไป                                                              8. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงานการรับบริการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลหันทราย
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเสี่ยงมีองค์ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามารถดูแลตัวเองไม่ให้เป็นผู้ป่วย โรคเรื้อรังในอนาคตได้
    1. มีเครือข่ายที่มีองค์ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน เช่น องค์กร อสม./กลุ่มแกนนำต่างๆ เพิ่มขึ้น สามารถถ่ายทอดและเป็นแบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่คนในชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2561 16:09 น.