โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายดาโหด ปานแขวง นายสมจิต เวชสิทธิ์ นายหมัด ไมมะหาด นางปรีดา ยานา นางยุวรรณ ไฉนวงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-02-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่หลายประเทศ แม้ในประเทศไทยเองยังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางแแกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการจัดขยะ เช่นหาพื้นที่ว่างเปล่าห่งไกลเป็นที่ทิ้งขยะ หรือการแสวงหาหนทางชีวปฏิบัติใดๆวิธีการต่างๆก็ยังไม่สามารถหาจุดสมดุลย์สุดท้ายได้ พื้นที่ชุมชนบ้านวังตงเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่เกิดปัญหาการทิ้งขยะริมถนนเกลื่อน มีหลายครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางจากครัวเรือนและอีกหลายครัวเรือนเช่นกันยังไม่มีการคัดแยกที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน กลุ่มธนาคารขยะบ้านวังตงเป็นกลุ่มองค์กรภาคประชาชนหนึ่งได้เล็งเห็นปัญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน ทั้งที่ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดเก็บขยะ โดยมีรถเก็บขยะตามชุมชน มีวิธีการจัดการโดยนำไปทิ้งพื้นที่หน่วยงานอื่น ซึ่งแต่ล่ะปีมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการค่อนข้างสูง โดยปัญหาที่พบจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ประจำรถขยะพบว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่เกือบ 70 % มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ขยะอินทรีย์มีการทำน้ำหมักชีวภาพประมาณ ๒๐ % และเพื่อส่งเสริมกระตุ้นให้ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะ ส่งเสริมการทำน้ำหมักภายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ลดขยะส่งกลิ่นเหม็น มีสัตว์มาคุ้ยเขี่ยซึ้งอาจถือเป็นแหล่งเชื้อโรค ที่อาจส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคติดต่อต่างๆ เกิดมลพิษอันเป็นผลพวงจากขยะที่อาจจะตามมาได้ กลุ่มธนาคารขยะบ้านวังตง จึงได้กำหนดจัดทำโครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนตนวังตงขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือนรวมทั้งข้อเสนอวีธีการลดขยะของชุมชน อบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ รวมทั้งส่งเสริมการลดปริมาณขยะอิทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นน้ำหมักชีวภาพของครัวเรือน สู้การลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน
- เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม)
- สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน
- กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ
- กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.คนในชุมชนบ้านวังตงตระหนักและให้ความสำคัญเกี่ยวกับปัญหาขยะเพิ่มขึ้น
2.ชุมชนตำบลลบ้านวังตงมีสิ่งแวดล้อมที่ดี น่าอยู่ สามารถเป็นต้นแบบให้ชุมชนอื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม)
วันที่ 27 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมให้ความรู้ "คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน" (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม)
2.สาธิตการแยกขยะขยะ (แทรกกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วม คิด คัด แยกด้วยตนเอง)
3.คืนข้อมูลการสำรวจสู้ชุมชน
รายละเอียดงบประมาณ
-ค่าป้ายไวนิล 1 ป้าย จำนวน 500 บาท
-ค่าวิทยากร 2 คนๆละ 2 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 120 ชุดๆละ 20 บาท จำนวน 2 มื้อ เป๋นเงิน 2,400 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนไละ 60 บาท เป็นเงิน 3,600บาท
-ค่าวัสดุ จำนวน 1,984 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
60
0
2. กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 27 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.กิจกรรมย่อยสาธิตการทำน้ำหนักชีวภาพ
2.กิจกรรมย่อยส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ
รายละเอียดงบประมาณ
-ค่าจัดซื้อภาชนะบรรจุน้ำหมัก จำนวน 30 ถังๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
-ค่าจัดซื้อกากน้ำตาล จำนวน 5 แกลอนๆละ 310 บาท เป็นเงิน 1,550 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
3. สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน
1. ค่าจัดทำเอกสาร/ถ่ายเอกสาร จำนวน 150 ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 300 บาท
2. ค่าสำรวจข้อมูลจำนวน 150 ชุดๆละ 15 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
150
0
4. กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.กิจกรรมย่อยประเมินผล
-ออกตรวจเยี่ยมบ้านผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อติดตามการคัดแยกขยะ/การทำน้ำหมักชีวภาพครัวเรือน
2.กิจกรรมย่อยประชาสัมพนธ์
รายละเอียดงบประมาณ
-ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงพาหนะเหมาจ่ายคนละ 60 บาท/คน/วัน คนละ 2 วัน (รับผิดชอบคนละ 6 ครัวเรือน) จำนวน 10 คน
-ค่าโฟมบอร์ดภาพกิจกรรม จำนวน 2 ป้ายๆละ 408 บาท เป็นเงิน 816 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน
ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลที่เป็นจริงจากการสำรวจ จำนวน 120 ชุด เพื่อนำมาวิเคราะห์ภาพรวมเกี่ยวกับข้อมูลด้านขยะของชุมชนบ้านวังตง นำสู่การวางแผนการแก้ไขปัญหาต่อไป
0.00
2
เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถคิดคัดแยกขยะได้ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วม
0.00
3
เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน
ตัวชี้วัด : มีครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 60 % มีการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน (2) เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม) (2) สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน (3) กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ (4) กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดาโหด ปานแขวง นายสมจิต เวชสิทธิ์ นายหมัด ไมมะหาด นางปรีดา ยานา นางยุวรรณ ไฉนวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายดาโหด ปานแขวง นายสมจิต เวชสิทธิ์ นายหมัด ไมมะหาด นางปรีดา ยานา นางยุวรรณ ไฉนวงศ์
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-02-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาใหญ่หลายประเทศ แม้ในประเทศไทยเองยังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางแแกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการจัดขยะ เช่นหาพื้นที่ว่างเปล่าห่งไกลเป็นที่ทิ้งขยะ หรือการแสวงหาหนทางชีวปฏิบัติใดๆวิธีการต่างๆก็ยังไม่สามารถหาจุดสมดุลย์สุดท้ายได้ พื้นที่ชุมชนบ้านวังตงเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่เกิดปัญหาการทิ้งขยะริมถนนเกลื่อน มีหลายครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางจากครัวเรือนและอีกหลายครัวเรือนเช่นกันยังไม่มีการคัดแยกที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน กลุ่มธนาคารขยะบ้านวังตงเป็นกลุ่มองค์กรภาคประชาชนหนึ่งได้เล็งเห็นปัญหาขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน ทั้งที่ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดเก็บขยะ โดยมีรถเก็บขยะตามชุมชน มีวิธีการจัดการโดยนำไปทิ้งพื้นที่หน่วยงานอื่น ซึ่งแต่ล่ะปีมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการค่อนข้างสูง โดยปัญหาที่พบจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ประจำรถขยะพบว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่เกือบ 70 % มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ขยะอินทรีย์มีการทำน้ำหมักชีวภาพประมาณ ๒๐ % และเพื่อส่งเสริมกระตุ้นให้ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะ ส่งเสริมการทำน้ำหมักภายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ลดขยะส่งกลิ่นเหม็น มีสัตว์มาคุ้ยเขี่ยซึ้งอาจถือเป็นแหล่งเชื้อโรค ที่อาจส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคติดต่อต่างๆ เกิดมลพิษอันเป็นผลพวงจากขยะที่อาจจะตามมาได้ กลุ่มธนาคารขยะบ้านวังตง จึงได้กำหนดจัดทำโครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนตนวังตงขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือนรวมทั้งข้อเสนอวีธีการลดขยะของชุมชน อบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ รวมทั้งส่งเสริมการลดปริมาณขยะอิทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นน้ำหมักชีวภาพของครัวเรือน สู้การลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพคนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน
- เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม)
- สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน
- กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ
- กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.คนในชุมชนบ้านวังตงตระหนักและให้ความสำคัญเกี่ยวกับปัญหาขยะเพิ่มขึ้น
2.ชุมชนตำบลลบ้านวังตงมีสิ่งแวดล้อมที่ดี น่าอยู่ สามารถเป็นต้นแบบให้ชุมชนอื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม) |
||
วันที่ 27 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.อบรมให้ความรู้ "คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน" (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 27 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.กิจกรรมย่อยสาธิตการทำน้ำหนักชีวภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
3. สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำสำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
150 | 0 |
4. กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.กิจกรรมย่อยประเมินผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน ตัวชี้วัด : ได้ข้อมูลที่เป็นจริงจากการสำรวจ จำนวน 120 ชุด เพื่อนำมาวิเคราะห์ภาพรวมเกี่ยวกับข้อมูลด้านขยะของชุมชนบ้านวังตง นำสู่การวางแผนการแก้ไขปัญหาต่อไป |
0.00 |
|
||
2 | เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถคิดคัดแยกขยะได้ร้อยละ 60 ของผู้เข้าร่วม |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน ตัวชี้วัด : มีครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 60 % มีการทำน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสุ่มสำรวจข้อมูลการคัดแยก การกำจัด การนำกลับมาใช้ประโยชน์ของครัวเรือน รวมทั้งข้อเสนอวิธีการลดขยะของชุมชน (2) เพื่ออบรมให้ความรู้และสาธิตการคิด คัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ผ่านการแปรสภาพเป็นนำ้หมักชีวภาพของครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ คิด คัด แยกขยะเพื่อชุมชน (แทรกกิจกรรมทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม) (2) สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะของครัวเรือน (3) กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ (4) กิจกรรมประเมินผล/ประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคิด คัดแยก ลดขยะ หมักมูลฝอยเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนคนวังตง จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดาโหด ปานแขวง นายสมจิต เวชสิทธิ์ นายหมัด ไมมะหาด นางปรีดา ยานา นางยุวรรณ ไฉนวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......