กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 12/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 12/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายจากโรงมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คนในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ 4,500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30-50 ปีซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smearและหากทำทุก 2ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ 92%ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear การค้นพบมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ในเขตพื้นที่ รพ.สต.เขาปูน พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจปี 2555-2559 ร้อยละ 63 พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น 33 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้อสม./แกนนำสตรี และประชาชนมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. 2. เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ครอบคลุมเป้าหมายร้อยละ 30
  3. 3. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรก และเมื่อตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการรักษาส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 202
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม./แกนนำสตรี และสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกอยู่ในระดับดี
    2. สตรีอายุ 30-60 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี pap smear
    3. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการรักษาส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1.ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในสตรี 2.โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในสตรี 3.ความสำคัญของการตรวจมะเร็งปากมดลูก 4.สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก อาการของมะเร็ง,ระยะของมะเร็งปาก,การวินิจฉัยมะเร็ง,การป้องกันมะเร็ง

    วันที่ 27 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การดำเนินงานตามโครงการซึ่งมีกิจกรรม การให้ความรู้ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก(pap smear) การติดตามผลการตรวจวิฉัย การส่งต่อในรายที่มีปัญหาที่ต้องพบแพทย์ซึ่งสามารถรวบรวมข้อมูลได้ดังนี้ -ด้านความรู้ความเข้าใจ  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการก่อนทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีความรู้ระดับน้อย จำนวน 72 คน ร้อยละ 38.09 รองลงมาคือ มีความรู้ระดับพอใช้ จำนวน 62 คน ร้อยละ 32.80 ระดับปานกลาง จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 19.57 และน้อยที่สุด จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 9.52 และพบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการหลังทำกิจกรรม มากที่สุด คือ มีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 106 คน ร้อยละ 56.08 รองลงมาคือ มีความรู้ระดับดีมากจำนวน 44 คน ร้อยละ 23.28 และน้อยที่สุด คือมีความรู้ระดับพอใช้และน้อย  ร้อยละ 12.69 และ 7.93 -ด้านทัศนคติของประชาชนต่อพฤติกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการก่อนทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีทัศนคติน้อย จำนวน 125 คน ร้อยละ 66.13 รองลามาคือ มีทัศนคติระดับปานกลาง จำนวน 28 คน ร้อยละ 14.81 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับดีและดีมาก จำนวน 26 และ 10 คน ร้อยละ 13.75 และ 5.29 และพบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการหลังทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีทัศนคติระดับมาก จำนวน 136 คน ร้อยละ 71.95 รองลงมา คือ ทัศนคติระดับดี จำนวน 25 คน ร้อยละ 13.22 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับปานกลางและน้อย ร้อยละ 8.99 และ 5.82 -ด้านความพึงพอใจ  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการโครงการมีความพึงใจ จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 71.95 รองลงมาคือ มีทัศนคติระดับดี จำนวน 25 คน ร้อยละ 13.22 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับปานกลางและน้อยร้อยละ 8.99 และ 5.82 -ด้านความพึงพอใจ พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ จำนวน 136 คน เป็นร้อยละ 71.91 -การติดตามหลังการตรวจ ผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ต้องได้รับการตรวจ จำนวน 202 คน เข้าร่วมโครงการทั้งหมดแต่ได้รับการตรวจ (pap smear) จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 93.56 ผลการตรวจและวินิจฉัย พบว่า ผลปกติ    จำนวน  186 คน เซลเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง  จำนวน  3 คน ต้องได้รับการตรวจซ้ำทุก 3 เดือน      จำนวน  3 คน ต้องได้รับการตรวจซ้ำทุก 6 เดือน  จำนวน  6 คน

     

    68 68

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงานตามโครงการซึ่งมีกิจกรรม การให้ความรู้ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก(pap smear) การติดตามผลการตรวจวิฉัย การส่งต่อในรายที่มีปัญหาที่ต้องพบแพทย์ซึ่งสามารถรวบรวมข้อมูลได้ดังนี้ -ด้านความรู้ความเข้าใจ  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการก่อนทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีความรู้ระดับน้อย จำนวน 72 คน ร้อยละ 38.09 รองลงมาคือ มีความรู้ระดับพอใช้ จำนวน 62 คน ร้อยละ 32.80 ระดับปานกลาง จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 19.57 และน้อยที่สุด จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 9.52 และพบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการหลังทำกิจกรรม มากที่สุด คือ มีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 106 คน ร้อยละ 56.08 รองลงมาคือ มีความรู้ระดับดีมากจำนวน 44 คน ร้อยละ 23.28 และน้อยที่สุด คือมีความรู้ระดับพอใช้และน้อย  ร้อยละ 12.69 และ 7.93 -ด้านทัศนคติของประชาชนต่อพฤติกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูก  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการก่อนทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีทัศนคติน้อย จำนวน 125 คน ร้อยละ 66.13 รองลามาคือ มีทัศนคติระดับปานกลาง จำนวน 28 คน ร้อยละ 14.81 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับดีและดีมาก จำนวน 26 และ 10 คน ร้อยละ 13.75 และ 5.29 และพบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการหลังทำกิจกรรมมากที่สุด คือ มีทัศนคติระดับมาก จำนวน 136 คน ร้อยละ 71.95 รองลงมา คือ ทัศนคติระดับดี จำนวน 25 คน ร้อยละ 13.22 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับปานกลางและน้อย ร้อยละ 8.99 และ 5.82 -ด้านความพึงพอใจ  พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการโครงการมีความพึงใจ จำนวน 136 คน คิดเป็นร้อยละ 71.95 รองลงมาคือ มีทัศนคติระดับดี จำนวน 25 คน ร้อยละ 13.22 และน้อยที่สุด คือ มีทัศนคติระดับปานกลางและน้อยร้อยละ 8.99 และ 5.82 -ด้านความพึงพอใจ พบว่าประชากรที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ จำนวน 136 คน เป็นร้อยละ 71.91
    -การติดตามหลังการตรวจ ผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ต้องได้รับการตรวจ จำนวน 202 คน เข้าร่วมโครงการทั้งหมดแต่ได้รับการตรวจ (pap smear) จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 93.56 ผลการตรวจและวินิจฉัย พบว่า ผลปกติ    จำนวน  186 คน เซลเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง  จำนวน  3 คน ต้องได้รับการตรวจซ้ำทุก 3 เดือน      จำนวน  3 คน ต้องได้รับการตรวจซ้ำทุก 6 เดือน  จำนวน  6 คน

    งบประมาณ จำนวน  14,050 บาท กิจกรรมที่ 1 1.ค่าอาหารกลางวันในการอบรม อสม./แกนนำ 68 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน  3,400 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรม อสม./แกนนำ 68 คน ๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ  เป็นเงิน 3,400 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรในการทำกิจกรรมคนละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท 2 คน เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 1.5x3 เมตร 1 ผืน  เป็นเงิน 400 บาท กิจกรรมที่ 2 1.ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์คัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 202 คน ๆ ละ 25 บาท (ร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมาย)  เป็นเงิน 5,050 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้อสม./แกนนำสตรี และประชาชนมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ครอบคลุมเป้าหมายร้อยละ 30
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรก และเมื่อตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการรักษาส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 202
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 202
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้อสม./แกนนำสตรี และประชาชนมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2) 2. เพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้ครอบคลุมเป้าหมายร้อยละ 30 (3) 3. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรก และเมื่อตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการรักษาส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 12/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด