กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ด.ต.สมหมาย คงธรรม

ชื่อโครงการ สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5200-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต



บทคัดย่อ

โครงการ " สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แม้ว่า สถาบันครอบครัวจะเป็น "หน่วยที่เล็กที่สุด" ของสังคม ทว่ากลับมีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เพราะเป็นต้นทางในการ "เพาะบ่ม" คนให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะในวัยเด็กที่จะเติบใหญ่ เป็นกำลังสำคัญขับเคลื่อนประเทศชาติในอนาคต เปรียเหมือนการฐานรากที่แข็งแรง จึงจะทำให้บ้าน (ประเทศชาติ) แข็งแกร่ง ยั่งยืนตามไปด้วย   นอกจากนี้สถาบันครอบครัวยิ่งเป็นการ "รวมศูนย์" ของบุคคลทุกเพศทุกวัย หญิง ชาย ในวัยเด็ก วัยทำงาน และผู้สูงวัย ดังนั้นหากครอบครัวใดดูแลสมาชิกในครอบครัวดี เข้าอกเข้าใจกันแล้ว ย่อมจะช่วยลดปัญหาทางสังคม ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ระดับประเทศ เป็นภาระของรัฐบาลในการเยียวยา แก้ปัญหาสังคมผ่านงบประมาณปีละหลายแสนล้านบาท เช่น ปัญหาการใช้ควมรุนแรงในครอบครัว ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาเด็กติดยา คนเร่ร่อน ผู้สูงวัยขาดคนดูแล เป็นต้น   อย่างไรก็ตามที่ผ่านมา นับว่า รัฐบาลให้ความใส่ใจกับการสร้างความมั่นคงของสถาบันครอบครัว ผ่านรูปธรรมในการจัดต้ง "กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์" โดยนอกจากจะมีภารกิจเกี่่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคมแล้ว ยังมีภารกิจในการส่งเสริมและพัฒนานาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน ยังมีหน่วยงานในสังกัด เช่น กรมกิจการผูัสูงอายุ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว และกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เป็นต้น   ขณะเดียวกัน ที่ผ่านมารัฐยังให้สวัสดิการสังคมผ่านหลายกองทุน อาทิ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนประกันสังคม สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยบุตรแรกเกิด เบี้ยคนพิการ รวมถึงการให้สวัสดิการคนจน เป็นต้น ตามข้อมูลกระทรวงการคลังเผยว่า ระดับรายจ่ายเพื่อสวัสดิการของประชาชน ให้อยู่ในระดับ 2-3% ของการเติบโตของเศรษฐกิจ (จีดีพี) ภาระดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 งบประมาณที่รัฐบาลจ่ายเพื่อสมทบในภาระงบประมาณด้านชราภาพของไทย รวมเป้นเงินงบประมาณ 3 แสนล้านบาทต่อปี ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนต่อจีดีพีประมาณ 2 % เศษ ขณะที่สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินว่า ในอีก 10 ปีข้างหน้า งบประมาณในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นกว่า 8 แสนล้านบาท รัฐจึงต้องแร่งจัดหารายได้ในหลายแนวทาง เพื่อลดผลกระทบฐานะการคลังในอนาคตจากงบประมาณด้านสวัสดิการสังคมที่จะเพิ่มขึ้น โดดยเฉพาะสังคมไทยที่กำลังจะเดินสู่ "สังคมสูงวัย" ถึงเวลาที่สังคมไทยต้องร่วมกันหันกลับมามองหน่วยที่เบ็กที่สุดของสังคม ตระหนักรู้ถึงการสร้าง "สถาบันครอบครัว" ที่เข้มแข็ง พระในบ้านคือผู้ใหญ่ในครอบครัว เด็กคือแก้วตาดวงใจ คู่สามีภรรยา คือ การร่วมทุกข์ร่วมสุข อย่ามองข้ามจุดเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่นี้   โดรงการสานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นโครงการที่ต้องการพัฒนาคนสามวัยให้เข้าใจซึ่งกันและกัน คือ วัยรุ่น วัยกลางคน และวัยชรา เพื่อส่งเสริมสถาบันในครอบครัวให้มีความรักความผูกพัน ดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน และความเข้าใจในความแตกต่างของแต่ละวัย ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความเข้าใจอันดีในครอบครัว เกิดการทำกิจกรรมร่วมกัน สร้างความเข้มแข็งในสถาบันครอบครัว นำไปสู่สังคมเข้มแข็งและความรัก ความสามัคคีในสังคมต่อไป
  ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวีได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุและสถาบันครอบครัว จึงได้ดำเนินการโครงการสานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะผู้บริหารและนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในวัยต่างๆ เริ่มตั้งแต่วัยรุ่น วัยกลางคน วัยชรา ให้เกิดความรักความเข้าใจในครอบครัว
  2. 2. เกิดความสามัคคีกันในครอบครัวและสามารถขยายไปยังชุมชนได้
  3. 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้จัดกิจกรรมร่วมกันและสานสัมพันธ์กันในครอบครัว
    2. ส่งเสริมสุขภาพจิต ของคนในวัยต่างๆ โดยเฉพาะวัยชรา
    3. ผู้เข้าร่วมโครงการได้พัฒนาทักษะในด้านต่างๆ จากการร่วมกิจกรรม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในวัยต่างๆ เริ่มตั้งแต่วัยรุ่น วัยกลางคน วัยชรา ให้เกิดความรักความเข้าใจในครอบครัว
    ตัวชี้วัด : 1. จัดทำแบบทดสอบผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
    0.00

     

    2 2. เกิดความสามัคคีกันในครอบครัวและสามารถขยายไปยังชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : 1. สังเกตพฤติกรรมผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
    0.00

     

    3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
    ตัวชี้วัด : 1. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในวัยต่างๆ เริ่มตั้งแต่วัยรุ่น วัยกลางคน วัยชรา ให้เกิดความรักความเข้าใจในครอบครัว (2) 2. เกิดความสามัคคีกันในครอบครัวและสามารถขยายไปยังชุมชนได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สานสัมพันธ์คนสามวัยใส่ใจพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5200-3-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ด.ต.สมหมาย คงธรรม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด