กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเรื่องโรคชิคุนกุนยา ประจำปีงบประมาณ 2561 (ชุมชนหลังโรงเรียน)
รหัสโครงการ 2561/L7886/5/8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนหลังโรงเรียน
วันที่อนุมัติ 14 สิงหาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 กันยายน 2561 - 6 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 24 กันยายน 2561
งบประมาณ 14,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสายหนาบ หลังจิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.687,99.965place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 ก.ย. 2561 21 ก.ย. 2561 14,800.00
รวมงบประมาณ 14,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ในปัจจุบันพบว่า มีผู้ป่วยโรคชิกุนกกุนย่าเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆโรคจะมีการระบาดปีเว้นปี เนื่องจากชุมชนในปัจจุบันได้มีการขยายตัวมากขึ้น แต่ไม่มีการวางแผนควบคุมแมลงนำโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงส่งผลให้เกิดการแพร่พันธุ์ของยุงลายที่เป็นพาหะโรคชิคุนกุนยา ซึ่งโรคนี้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสายพันธุ์อยู่ตลอดเวลา จากอดีตที่ผ่านมาการระบาดของและโรคชิคุนกุนยามักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน แต่ปัจจุบันพบว่าโรคชิคุนกุนยาสามารถเกิดได้ทุกฤดูกาล และนโยบายการพัฒนาบริการสาธารณสุขได้เปลี่ยนจากเชิงรับมาเน้นการให้บริการในเชิงรุกเพื่อส่งเสริมให้องค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกันสุขภาพของตนเองมากขึ้นขณะเดียวกันโรคชิคุนกุนยาเป็นโรคที่ป้องกันได้หากประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคที่ถูกต้อง การสร้างพฤติกรรมการป้องกันโรคและปลูกจิตสำนึกในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาให้ได้ผลดีนั้น จำเป็นที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนั้นอาสาสมัครชุมชนประมงจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้เกิดความตะหนักและร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันไม่ไห้ยุงกัด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
  1. มีการกำจัดแหล่งเพาะพัน์ยุงลายในชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
1.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคชิคุนกุนยา
  1. อัตราการป่วยของประชาชนในชุมชนลดลงร้อยละ 80
1.00
3 ข้อที่3. เพื่อสร้างกระแสความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคชิคุนกุนย่า
  1. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงเพิ่มขึ้น
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 14,800.00
28 ส.ค. 61 อบรมให้ความรู้เริ่องโรคชิคุนกุลยา 0 0.00 14,800.00
4 ต.ค. 62 จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 0 0.00 0.00

กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการอบรมให้ความรู้เริ่องโรคชิคุนกุลยา           1.1 ประชุมชี้แจงโครงการฯแก่เจ้าหน้าที่และอสมทุกชุมชน           1.2 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคชิคุนกุนยา กิจกรรมที่ 2จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2.1 ดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยการลงหยอดทรายอะเบต การคว่ำกะลาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 2.2 ดำเนินการพ่นหมอกควัน 100 เมตรจากจุดระบาดห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์โดยเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง กิจกรรมที่3การประชาสัมพันธ์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยาให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2 ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้ามีความตระหนักเกี่ยวกับโรคชิคุนกุนยาและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคชิคุนกุนยา 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคชิคุนกุนยา 4 ประชาชนสามารถทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในบ้าน ชุมชน มัสยิด โรงเรียนให้น้อยลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2561 10:54 น.