กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เด็กจึงควรได้รับการอบรมเลี้ยงดูและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ให้มีพัฒนาการอย่างเป็นองค์รวม หมายถึง พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และผู้ที่เกี่ยวข้อง คลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน เป็นคลินิกที่ให้บริการเด็กตามเกณฑ์อายุ คัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยรวมทั้งให้คำปรึกษาและให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพัฒนาการสมวัยทุกด้านรวมทั้งส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน ส่งเสริมโภชนาการในเด็กซึ่งเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปีเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์และสังคม ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสม ดังนั้นคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน เห็นความสำคัญของเด็กปฐมวัยที่กำลังเจริญเติบโตในอนาคตซึ่งจำนวนผู้มารับบริการเฉลี่ย40คน/วันมีผู้ให้บริการ 2-3 คนเฉพาะช่วงเช้าวันอังคารที่ 2ของเดือน ซึ่งในการดำเนินงานที่ผ่านมามีขั้นตอนการให้บริการหลายขั้นตอนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆยังขาดแคลนเด็กบางคนร้องกวนทำให้ผู้ปกครองหงุดหงิดเกิดความเครียดและวิตกกังวลเด็กบางคนไม่พร้อมในการตรวจพัฒนาการเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องพัฒนางานคลินิกสุขภาพเด็กดี เพื่อให้การดำเนินงานต่างๆมีความรวดเร็ว ผู้รับบริการได้รับการดูแลจากสหสาขาวิชาชีพในการประเมินภาวะสุขภาพตามมาตรฐานลดระยะเวลารอคอยและสะดวกสบายตอบสนองความต้องการของผู้มารับบริการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดีให้ได้มาตรฐาน
  2. 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการและด้านทันตสาธารณสุขแก่เด็ก 0-5 ปี ในคลินิกสุขภาพ เด็กดีทุกคน
  3. 3. เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความสามารถในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ และแปลผลได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ระบบบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดีมีความถูกต้องชัดเจนรวดเร็ว เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.เด็กมีพัฒนาการตามวัยอย่างเหมาะสม 3.เด็กมีภาวะโภชนาการปกติ 4.เด็กมีสุขภาพช่องปากและฟันตามวัยอย่างเหมาะสม 5.เด็กปฐมวัย 0-5 ปีได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 6.แกนนำ อสม.ได้พัฒนาองค์ความรู้และทักษะในการประเมินโภชนาการเด็ก 7.คลินิกสุขภาพเด็กดีมีอุปกรณ์และป้ายให้ความรู้เพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจ้งการดำเนินงาน

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจ้งกรดำเนินงาน

     

    10 10

    2. ประเมินการปฏิบัติงาน

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคลินิกสขภาพเด็กดี ร้อยละ 87.22

     

    50 50

    3. อบรมและประเมินโภชนาการเด็กแก่แกนนำ อสม.

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมแกนนำ อสม. มีส่วนร่วมทุกครั้งในคลินิกสุขภาพเด็กดี

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    คลินิกเด็กดี ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคลินิกสุขภาพเด็กดี ร้อยละ 87.22 เด็ก 0 - 5 ปี มีโภชนาการสมส่วนและส่วนสูงเฉล่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละ 52.24 เด็ก 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.56
    เด็ก 0 - 2 ปี เคลืบ/ทาฟลูออไรด์ ร้อยละ 73.33 แกนนำนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมทุกครั้งใรคลินิกสุขภาพเด็กดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดีให้ได้มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ระบบบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดีมีความถูกต้องเกิดประประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นลดระยะเวลารอคอย

     

    2 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการและด้านทันตสาธารณสุขแก่เด็ก 0-5 ปี ในคลินิกสุขภาพ เด็กดีทุกคน
    ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เด็กมีภาวะโภชนาการปกติ

     

    3 3. เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความสามารถในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ และแปลผลได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันตามวัยอย่างเหมาะสม ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบบริการในคลินิกสุขภาพเด็กดีให้ได้มาตรฐาน (2) 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการและด้านทันตสาธารณสุขแก่เด็ก 0-5 ปี ในคลินิกสุขภาพ เด็กดีทุกคน (3) 3. เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความสามารถในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ และแปลผลได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนางานคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดี รพสต.บ้านควน 2 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด