กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561 ”

ณ หาดบางมะรวด หลังโรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง

ชื่อโครงการ โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561

ที่อยู่ ณ หาดบางมะรวด หลังโรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ หาดบางมะรวด หลังโรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ หาดบางมะรวด หลังโรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาเกี่ยวกับคนพิการได้รับความสนใจจากสังคมในวงกว้างมาเป็นเวลานาน สำหรับประเทศไทยการดำเนินการด้านสงเคราะห์ พัฒนา และฟื้นฟูคนพิการ กล่าวได้ว่าส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลและแรงผลักดันจากภายนอกประเทศทั้งระดับโลกและระดับภูมิภาค ซึ่งรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับคนพิการเป็นอย่างมากเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการจัดสิ่งอานวยความสะดวกสาธารณะต่าง ๆ สำหรับรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ (และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๕๕๒) มาตรา๖๗ (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการในตำบลให้มีการพัฒนาคุณภาพที่ดีขึ้น และสามารถใช้ชีวิตในอนาคตได้อย่างมีความสุข องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการส่งเสริม สานสัมพันธ์ และยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง การสนับสนุนให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอิสระ มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์และเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป มีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ปัจจุบันมีคนพิการ โดยแบ่งประเภทออกเป็น ๗ ประเภท ๑. ความพิการทางการมองเห็น ๒. ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย ๓. ความพิการทางการเคลื่อนไหว ๔. ความพิการทางจิตหรือพฤติกรรม ๕. ความพิการทางสติปัญญา ๖. ความพิการทางการเรียนรู้ ๗. ความพิการทางออทิสติก
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง จึงได้จัดทำโครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องให้สามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตในสังคมอย่างเหมาะสมต่อไปได้ โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งผู้ให้บริการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดความเข้าใจสภาพปัญหาข้อจำกัดของคนพิการ และมองเห็นถึงศักยภาพขีดความสามารถของคนพิการ ให้นำมาใช้ในการพัฒนาช่วยเหลือตนเองอย่างเต็มที่ เพื่อเป็นการลดภาระต่อการดูแลช่วยเหลือของคนในครอบครัวและสังคมในระยะยาว โดยมุ่งหวังให้คนพิการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชน ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2.2. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการ ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพร่วมกันในชุมชน 2.3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการและลดภาระของญาติอย่างต่อเนื่อง 2.4. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือคนดูแลคนพิการ มีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการติดต่อข่าวสารข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและชุมชนในการฟื้นฟูคนพิการ 2.5. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้มีความใกล้ชิด มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในสังคมในระยะยาวต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติตามลำดับขั้นตอน 4.2. ประชาสัมพันธ์เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.3. ประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้อง 4.4. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด 4.5. ประเมินผลโครงการ 4.6. รายงานผลการดำเนิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 91
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.) ให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2.) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการและลดภาระของญาติอย่างต่อเนื่องและมีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและชุมชนในการฟื้นฟูคนพิการ 3.) ให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้มีความใกล้ชิด มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในสังคมในระยาวต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติตามลำดับขั้นตอน 4.2. ประชาสัมพันธ์เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.3. ประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้อง 4.4. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด 4.5. ประเมินผลโครงการ 4.6. รายงานผลการดำเนิน

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

4.1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติตามลำดับขั้นตอน 4.2. ประชาสัมพันธ์เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.3. ประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้อง 4.4. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด 4.5. ประเมินผลโครงการ 4.6. รายงานผลการดำเนินการโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

7.1 ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
      เจ้าหน้าที่โครงการ/คณะกรรมการ สปสช.
      จำนวน 91 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 4,550 บาท 7.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
      เจ้าหน้าที่โครงการ/คณะกรรมการ สปสช.
      จำนวน 91 คนๆละ2 มื้อๆ ละ25  บาท        เป็นเงิน 4,550 บาท 7.3 ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 เมตร x 2.5 เมตร
      จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 750 บาท  เป็นเงิน    750 บาท 7.4 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ600บาท          เป็นเงิน  3,600 บาท 7.5 ค่าเช่าเต็นท์ โต๊ะ เก้าอี้ จำนวน ๒ ชุด ๆละ 1,200.บาท เป็นเงิน  ๒,๔00 บาท
7.6 ค่าเช่าเครื่องเสียง  1  ชุด ๆละ 2,500.บาท เป็นเงิน  2,500 บาท

รวมเป็นเงิน 18,350.-บาท  (หนึ่งหมื่นแปดพันสามร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
**หมายเหตุ  ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

 

91 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชน ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2.2. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการ ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพร่วมกันในชุมชน 2.3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการและลดภาระของญาติอย่างต่อเนื่อง 2.4. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือคนดูแลคนพิการ มีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการติดต่อข่าวสารข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและชุมชนในการฟื้นฟูคนพิการ 2.5. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้มีความใกล้ชิด มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในสังคมในระยะยาวต่อไป
ตัวชี้วัด : 3.1 คนพิการและผู้ดูแลคนพิการ จำนวน 86 คน 3.2 เจ้าหน้าที่โครงการ/คณะกรรมการ สปสช. จำนวน 5 คน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 91
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 91
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการในชุมชน ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน 2.2. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ในการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการ ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพร่วมกันในชุมชน 2.3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการและลดภาระของญาติอย่างต่อเนื่อง 2.4. เพื่อส่งเสริมให้ญาติหรือคนดูแลคนพิการ  มีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการติดต่อข่าวสารข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและชุมชนในการฟื้นฟูคนพิการ 2.5. เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลคนพิการได้มีความใกล้ชิด มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในสังคมในระยะยาวต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติตามลำดับขั้นตอน 4.2. ประชาสัมพันธ์เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 4.3. ประสานงานวิทยากรและผู้เกี่ยวข้อง 4.4. ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด 4.5. ประเมินผลโครงการ 4.6. รายงานผลการดำเนิน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสานสายใยรัก คนพิการและผู้ดูแลคนพิการตำบลบ้านกลาง ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด