กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ”
ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายอาดามี บีดีง




ชื่อโครงการ โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5192-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยประชากรสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) มีจำนวนและสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นถึงร้อยละ ๑๐ ของประชากร หรือ ๖.๓ ล้านคน(กรมอนามัย:๒๕๔๙) ในปัจจุบันส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากร ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดถึงความได้เปรียบทางประชากรในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้นมีปัญหาด้านสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บ ความพิการและทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อการเพิ่มของความต้องการค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาพยาบาลดังนั้นเมื่อจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคตจะเป็นภาระสำคัญสำหรับรัฐบาลในการหามาตรการรองรับด้านการรักษาพยาบาล สังคมไทยจะเริ่มต้นสู่สังคมผู้สูงอายุในอีก ๖ ปี ข้างหน้า การมีนโยบายสุขภาพเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุ ย่อมทำให้ประชากรสูงอายุมีศักยภาพ สุขภาพ และปัญญาความรู้เพิ่มขึ้นที่จะส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศและป้องกันการเจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพทั้งในปัจจุบันและในอนาคตจากการสำรวจบัญชีสาธารณสุข พบว่าในเขตรพ.สต.ลำไพล พบผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๘๗๖  คน จากการที่จำนวนผู้สูงอายุภายในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะความเป็นสังคมเมือง ลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัวได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง
      ในด้านผู้พิการในชุมชน พบผู้พิการจำนวน ๖๗  คน มักจะพบปัญหาคล้ายกับผู้สูงอายุ จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดตียงและผู้สูงอายที่ดูแลตัวเองได้น้อยและผู้พิการในชุมชน เพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดตียงและผู้สูงอายที่ดูแลตัวเองได้น้อยและผู้พิการที่เน้นให้บริการรักษาตามแนวทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ร่วมด้วย ซึ่งเป็นการรักษาที่ไม่ต้องใช้ยาซึ่งอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ
        โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายที่ดูแลตัวเองได้น้อยและผู้พิการ เพื่อการดูแลในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพโดยชุมชนโดยใช้แนวทางการดูแลและฟื้นฟูผู้สูงอายุโดยใช้ศาสตร์ของแพทย์แผนไทยร่วมด้วย รวมทั้งการดูแลผู้สูงอายุแบบประคับประคอง( ในระยะสุดท้ายของชีวิต ) โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายที่ดูแลตัวเองได้น้อยและผู้พิการ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดและถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการดูแลผู้พิการเห็นสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการน้อยลง
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดูแลผู้พิการ และผู้ป่วยสูงอายุติดเตียงในชุมชน ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
  2. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดูแลผู้พิการ และผู้ป่วยสูงอายุติดเตียงในชุมชน ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
  3. ป้ายไวนิลโครงการ
  4. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ดูแลช่วยเหลือได้น้อยและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  2. ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือได้น้อยและผู้พิการได้รับการเยี่ยมติดตามร้อยละ ๑๐๐
  3. ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือได้น้อยและผู้พิการได้รับการเยี่ยมติดตามร้อยละ ๑๐๐

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดและถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด
80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการดูแลผู้พิการเห็นสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการน้อยลง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้พิการตระหนักถึงการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการน้อยลง
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยและผู้พิการได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดและถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการดูแลผู้พิการเห็นสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการน้อยลง (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดูแลผู้พิการ และผู้ป่วยสูงอายุติดเตียงในชุมชน ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดูแลผู้พิการ และผู้ป่วยสูงอายุติดเตียงในชุมชน ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (3) ป้ายไวนิลโครงการ (4) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ ผู้ดูแลและผู้พิการ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5192-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาดามี บีดีง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด