กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
รพ.เทพา

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-8287-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-8287-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบัน เยาวชน หรือวัยรุ่น อายุ 13-25 ปี เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของนักค้ายาเสพติด และเป็นกลุ่มที่ใช้ยาเสพติดมากที่สุด ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ที่จะถูกชักชวนให้หลงผิดได้ง่าย เนื่องจากเยาวชนยังขาดความรู้ ขาดความตระหนักคิดอย่างเพียงพอ จึงหลงผิดเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่นๆ แม้กระทั่งโรงเรียน สำหรับตำบลเทพา มีปัญหายาเสพติดและอาชญากรรมในชุมชนโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นที่กำลังเป็นนักเรียนนักศึกษา ได้มีพฤติกรรมการเสพยาเสพติดแล้วก่อการทะเลาะวิวาท ลักขโมย ตลอดจนก่อเหตุรบกวนอันเป็นสิ่งรำคาญแล้วส่งผลเป็นปัญหาอาชญากรรมตามมาสู่ชุมชน ซึ่งทางชุมชนตำบลเทพาได้ร่วมกันแก้ปัญหามาโดยตลอดแต่ไม่ครบวงจรและไม่ประสบความสำเร็จ ดังนั้น เพื่อเป็นประโยชน์แก่เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ให้รู้สึกปลอดภัย และเป็นชุมชนปลอดยาเสพติด กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลเทพา ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่นำร่องตำบลเทพารู้เท่าทันภัยของยาเสพติด และรู้สถานการณ์ของยาเสพติด 2. เพื่อป้องกันไม่ให้เด้กและเยาวชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และก่ออาชญากรรมในชุมชน
  2. 1. เพื่อเป็นการเสริมความเข้มแข็งของเด็กและเยาวชนตำบลเทพา และเกิดกลุ่มแกนนำทำความดี 2. เพื่อเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง เน้นชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการด้วยตนเอง จนทำให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
    2. เด็กและเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันตนเอง ครอบครัว ตลอดจนเป็นภาคีเครือข่ายทำความดี
    3. เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน และเฝ้าระวังป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาสู่ชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ได้ชวนคิดชวนคุยกับเยาวชน และเกิดกลุ่มแกนนำทำความดีเพื่อพ่อหลวง
    2. เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน แต่ยังไม่เข้มแข็ง เพราะบางชุมชนยังไม่สามารถเป็นผู้บริหารจัดการได้ด้วยตนเอง
    3. ผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ลดลงร้อยละ 39.49 ซึ่งไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ร้อยละ 50
    4. ใน 1 หมู่บ้านเกิดกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชน 1 กลุ่ม เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมป้องกันยาเสพติด
    5. งบประมาณ  ใช้ไป 10,125 บาท คงเหลือ 22,925 บาท ค่าอาหารกลางวัน  อาหารว่าง  9,000 บาท ค่าไวนิล  1,125 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่นำร่องตำบลเทพารู้เท่าทันภัยของยาเสพติด และรู้สถานการณ์ของยาเสพติด 2. เพื่อป้องกันไม่ให้เด้กและเยาวชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และก่ออาชญากรรมในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ลดลงร้อยละ 50

     

    2 1. เพื่อเป็นการเสริมความเข้มแข็งของเด็กและเยาวชนตำบลเทพา และเกิดกลุ่มแกนนำทำความดี 2. เพื่อเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง เน้นชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการด้วยตนเอง จนทำให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด : 1.ใน 1 หมู่บ้านเกิดกลุ่มแกนนำเด้กและเยาวชน 1 กลุ่ม เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่นำร่องตำบลเทพารู้เท่าทันภัยของยาเสพติด และรู้สถานการณ์ของยาเสพติด 2. เพื่อป้องกันไม่ให้เด้กและเยาวชนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และก่ออาชญากรรมในชุมชน (2) 1. เพื่อเป็นการเสริมความเข้มแข็งของเด็กและเยาวชนตำบลเทพา และเกิดกลุ่มแกนนำทำความดี 2. เพื่อเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง เน้นชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการด้วยตนเอง จนทำให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ทำดีเพื่อพ่อหลวงต่อต้านยาเสพติด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-8287-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.เทพา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด