กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวงอุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้า ๆ ในอดีตแต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยาดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงให้วามสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติในอันที่จะพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรคโดยการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระยะแรกได้เน้นไปที่การตรวจรักษาและการป้องกันโรคจากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดยคณะผู้เชี่ยวชาญวัณโรคจากองค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรค เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราการรักษาหายและกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (Treatment success rate) มากกว่าร้อยละ 90แนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยา ต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS ( Directly Observed Treatment System) ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO)ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใช้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไปจำนวนผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2 ตั้งแต่ปี 2557-2559 ทั้งหมด 5 รายอัตราการรักษาหาย 5 ราย เพื่อให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งการสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลงต่อไปโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนจึงได้เร่งรัดดำเนินการโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค โดยการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และวิธี DOTS ในระดับชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง
  3. เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ระบบคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนได้รับการพัฒนาและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
    2. การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
    3. ชุมชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันวัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่แกนนำครอบครัว จำนวน60 คน

    วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2560 จำนวน 4 ราย ได้รับการดูแลครบทั้ง 4 ราย แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ในการป้องกันวัณโรค มีการติดป้ายให้ความรู้ ตามกลุ่มบ้าน และมีการแจกใบความรู้ทุกหลังคาเรือน

     

    60 60

    2. ให้ อสม. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคในพื้นที่ตำบลบ้านควน

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใช้แบบคัดกรองในการค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 43 ราย ได้รับคัดกรอง 43 ราย ไม่พบผู้มีอาการ -ผู้สูงอายุ จำนวน 323 คน ได้รับการคัดกรอง 192 รายไม่พบผู้มีอาการ -ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วย จำนวน 14 ราย ได้รับการคัดกรอง 14 ราย ไม่พบผู้มีอาการ

     

    249 249

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน ผลการประเมิน  ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2560 จำนวน 4 ราย ได้รับการดูครบทั้ง 4 ราย ใช้แบบคัดกรองในการค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยง/ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดัน จำนวน 43 ราย ได้รับการคัดกรอง จำนวน 43 ราย ไม่พบผู้มีอาการ - ผู้สูงอายุ จำนวน 323 คน ได้รับการคัดกรอง 192 ราย ไม่พบผู้มีอาการ - ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วย จำนวน 14 ราย ได้รับการคัดกรอง 14 ราย ไม่พบผู้มีอาการ
    แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ในการป้องกันวัณโรคมีการติดป้ายให้ความรู้ตามกลุ่มบ้านและมีการแจ้งใบความรู้ทุกหลังคาเรือน สิ่งที่ได้เรียนรู้/สิ่งที่ประทับใจ การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องมีความรู้ และตระหนัก สำคัญที่สุดต้องเริ่มที่ตัวเรา เปลี่ยนความคิดเปลี่ยนพฤติกรรมมุ่งสู่สุขภาพดี เมื่อทุกคนมีความรู้ ดูแลตัวเอง ชุมชนเข้มแข้ง การให้ความรู้กับแนวแกนนำสุขภาพต้องทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ เป็นการสร้างภูมิต้านทานที่ดีที่สุดให้กับชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ประเมินจากอัตราสำเร็จการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่

     

    2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากกิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน

     

    3 เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ประเมินผลจากกิจกรรมการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคปอดกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.บ้านควน 2 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-1-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด