กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปี 2560 ปีทอง ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในหญิงอายุ 30-60 ปี
รหัสโครงการ 60-L3005-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 28 กันยายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 41,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอารีนาอาแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.735,101.478place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 612 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างเครือข่ายอาสาสมัครในการดูแล และส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์

 

2 2.เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก และเต้านม

 

3 3.เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้ สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างถูกต้อง

 

4 4.เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปีที่มีภาวะเสี่ยง และตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกและเต้านมได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ชมรมแกนนำสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ชมรมแกนนำสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ จัดประชุมชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อรับทราบวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน 3.ชมรมแกนนำสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ จัดทำแผนปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตรับผิดชอบ 4.ชมรมแกนนำสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ประสาน รพ.สต.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความร่วมมือและ สนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองฯในชุมชน เช่น อบต.ผูนำท้องถิ่น อสม. และภาคีเครือข่าย 5.ประชาสัมพันธ์โครงการตรวจคัดกรองฯผ่านช่องทางต่างๆ 6.จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆในการดำเนินงาน 7.ตั้งทีมให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร่วมกับ รพ.สต. 8.รพ.สต.ลงบันทึกข้อมูลตามระบบโปรแกรม CxS 2010 และส่งข้อมูล แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามระบบโปรแกรม CxS 2010 9.สรุปและรายงานผลการดำเนินงานฯให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ลางา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีอาสาสมัครในการส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก เต้านม 3.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และใส่ในในการดูแลสุขภาพครอบครัวและชุมชนสามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม 4.สตรีที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูก เต้านม ได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2560 10:28 น.