กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสิทธิศักดิ์ วิชยวิกรานต์

ชื่อโครงการ โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานสาธารณสุขที่มีความสำคัญมากซึ่งมีผลต่อสุขภาพที่ดีของประชาชนไทย โรคติดต่อหลายโรคในประเทศไทยลดลง ด้วยการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างครอบคลุมทั่วถึง และต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์กรภาครัฐเพื่อให้การดำเนินงานมุ่งสู่ผลสำเร็จตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต   ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด และมีความต่อเนื่องตลอดไป
  พื้นที่ตำบลโกตาบารู การให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 1, 2, 3 และ 5 ปี ในปีพ.ศ. 2558 พบว่า ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 88.02, 87.50, 89.75 และ 90.51 ในปีพ.ศ. 2559 พบว่า ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 89.36, 88.87, 90.00 และ 91.02 ในปีพ.ศ. 2560 พบว่า ได้รับความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ 92.31, 90.00, 91.34 และ 92.12 ตามลำดับซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการทบทวนการดำเนินงานการเร่งรัดติดตาม ค้นหาเด็กในกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ และต้องอาศัยกลุ่มองค์กรอื่นๆที่อยู่ภายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อส่งเสริม พัฒนางานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อให้เด็กในพื้นที่มีสุขภาพสมบูรณ์ ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี บทวิเคราะห์     ตารางแสดงผลการดำเนินงานความครอบคลุมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นที่ตำบลโกตาบารูในเด็กอายุ 1, 2, 3 และ 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 – 2560 ช่วงอายุ (ปี) ผลงานปี 58 (ร้อยละ) ผลงานปี 59 (ร้อยละ) ผลงานปี 60 (ร้อยละ)
1 88.02 89.36 92.31 2 87.50 88.87 90.00 3 89.75 90.00 91.34 5 90.51 91.02 92.12   จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า ผลการปฏิบัติงานภาพรวมย้อนหลัง 3 ปี มีแนวโน้มพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นแต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยสามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้ดังนี้ ความไม่เชื่อถือในตัวบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กไม่ตระหนักและไม่เห็นความสำคัญของวัคซีน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาอาสาสมัครสาธารณสุข และองค์การบริหารส่วนตำบล ไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร ทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในพื้นที่ไม่สามารถที่จะบรรลุเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กำหนดได้ เพื่อให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคบรรลุตามตัวชี้วัดและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีความจำเป็นต้องอาศัยกลุ่มองค์กรต่างๆ ที่อยู่ภายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีการรับรู้สถานการณ์การเกิดโรคในเด็ก 0-5 ปี สถานการณ์เรื่องวัคซีน สภาพปัญหาปัจจุบัน การเข้าถึงบริการวัคซีน
  2. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประโยชน์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ในรูปแบบ หัวข้อ "แลกเปลี่ยนประสบการณ์การรับวัคซีนเพื่อค้นหากุลยุทธ์ในการกระตุ้นการบริบริการวัคซีน" และกำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีการรับรู้สถานการณ์การเกิดโรคในเด็ก 0-5 ปี สถานการณ์เรื่องวัคซีน สภาพปัญหาปัจจุบัน การเข้าถึงบริการวัคซีน  (2) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประโยชน์การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ในรูปแบบ หัวข้อ "แลกเปลี่ยนประสบการณ์การรับวัคซีนเพื่อค้นหากุลยุทธ์ในการกระตุ้นการบริบริการวัคซีน" และกำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ หนูน้อยตำบลโกตาบารูปลอดโรคด้วยวัคซีน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิทธิศักดิ์ วิชยวิกรานต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด