กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว


“ โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560 ”

ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางมาริสามากเพ็ง

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศเนื่องจากปัจจุบันมีความสะดวกที่จะเข้าถึงสื่อข้อมูลต่างๆได้ง่ายขึ้น อาจจะเป็นสื่อที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาเสพติดหรือข่าวสารที่มีลักษณะขัดต่อศีลธรรมและบรรทัดฐานทางสังคมที่จะเป็นการชักนำให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการลอกเลียนแบบในพฤติกรรมนั้นๆ รวมถึงการเสพยาเสพติดด้วย รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติด เด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติดได้ง่ายเป็นกลุ่มที่มีคุณค่าอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ยังถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติดสูง เนื่องจากเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ แต่ยังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีพอ รวมทั้งต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ ยุทธศาสตร์การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด พ.ศ. 2558 - 2562 จึงมุ่งเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กและเยาวชนไม่หันไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ทาง รพ.สต.หนองบัว เล็งเห็นว่าปัญหายาเสพติดไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง หรือองค์กรใดองค์กรหนึ่ง แต่หากเป็นหน้าที่ของคนทุกในชาติที่จะต้องร่วมมือร่วมใจกันป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ การขจัดยาเสพติดให้หมดไปจากแผ่นดินไทยก่อนชาติไทยจะตกเป็นทาสของยาเสพติด จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้มีภูมิคุ้มกันที่ถูกต้อง ได้พัฒนาตนเองและสนองตอบความต้องการของวัยรุ่นที่ต้องการสิ่งพึ่งพาทางจิตใจ สำหรับผู้ติดยาเสพติดแล้ว สังคมยังให้โอกาสสำหรับการกลับมาเป็นคนดี โดยคนในชุมชนเองต้องช่วยกันเฝ้าระวังและติดตามไม่ให้ผู้ป่วยกลับมายุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดอีก จึงจัดทำโครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560นี้ขึ้นมา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่เยาวชนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด และเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดมาแล้วให้เกิดค่านิยมของการ เป็นหนึ่งได้ โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติดและทราบถึงบทลงโทษของผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วมร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด
  3. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่เยาวชนที่สร้างสรรค์ผลงานในการต่อต้านยาเสพติด
  4. เพื่อติดตามและเฝ้าระวังผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติดไม่ให้กลับไปเสพซำ้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถป้องกันตนเอง และคนในชุมชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รณรงค์และสร้างกระแสต่อต้านยาเสพติดเนื่องในวันยาเสพติดโลก

    วันที่ 17 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมวันรณรงค์ จำนวน 160 คน โรงเรียน 4 โรง และครอบครัว 9 หมู่บ้าน ร่วมรณรงค์ต่อต้านเสพติดเนื่องในวันยาเสพติดโลก คิดเป็นร้อยละ 100

     

    140 140

    2. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนอายุ 10 ปีขึ้นไป เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปและอันตรายของยาเสพติดต่อสุขภาพและบทลงโทษของผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด

    วันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนในเขตตำบลหนองบัว เข้าร่วมการอบรมทั้งสิ้น 95 คน คิดเป็นร้อยละ 118.75 ของกลุ่มเป้าหมาย 2.นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้หลังการอบรมผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100

     

    95 95

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. นักเรียนทั้ง 4 โรงเรียนในเขตตำบลหนองบัวเข้าร่วมการอบรมทั้งสิน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 118.75 ของกลุ่มเป้าหมาย
    2. นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้หลังการอบรมผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100
    3. ผู้เข้าร่วมวันรณรงค์ จำนวน 160 คน โรงเรียน 4 แห่ง และครอบครัว 9 หมู่บ้าน ร่วมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดเนื่องในวันยาเสพติดโลก คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติดและทราบถึงบทลงโทษของผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : -

     

    2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วมร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่เยาวชนที่สร้างสรรค์ผลงานในการต่อต้านยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อติดตามและเฝ้าระวังผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติดไม่ให้กลับไปเสพซำ้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายของยาเสพติดและทราบถึงบทลงโทษของผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วมร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด (3) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่เยาวชนที่สร้างสรรค์ผลงานในการต่อต้านยาเสพติด (4) เพื่อติดตามและเฝ้าระวังผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติดไม่ให้กลับไปเสพซำ้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเยาวชน To be number one รุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมาริสามากเพ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด