กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกิติยาภรณ์ เขียนภูเขียว หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 - 19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 - 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จังหวัดยะลามีประชากรทั้งหมด 450,290 คน เพศชาย 220,634 คน เพศหญิง 229,656 คน โดยมีอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1 : 1.04 ความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 97 คนต่อตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 78.24 รองลงมานับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 20.48 และศาสนาอื่นๆ ร้อยละ 1.28 (ฐานข้อมูล Health Data Center 15 ตุลาคม 2560) สาเหตุการป่วย 10 อันดับการป่วย 10 อันดับแรกของผู้ป่วยในจังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2558-2560 พบว่าไข้จากไวรัสที่นำโดยแมลงและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัสอื่นๆ มาเป็นอันดับแรก และปอดบวม ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตั้งครรภ์และการคลอด การดูแลมารดาอื่นๆ ที่มีปัญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ์ โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอุดกั้นแบบเรื้อรัง หัวใจล้มเหลว ภาวะอื่นๆ ในระยะปริกำเนิด หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังโรคจากไวรัสอี่นตามลำดับ จากข้อมูลด้านสุขภาพดังกล่าวข้างต้น พบว่าบางโรคมีปัจจัยเสี่ยงมาจากการสูบบุหรี่ และหรือได้รับควันบุหรี่ ซึ่งสถานการณ์การสูบบุหรี่ในประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ของจังหวัดยะลา โดยสถานที่สาธารณะที่พบเห็นการสูบบุหรี่มากที่สุด คือตลาดสดหรือตลาดนัดร้อยละ 89.0 รองลงมา คือ ร้านอาหาร/ภัตตาคาร สถานีขนส่งสาธารณะ ศาสนสถาน อาคารสถานที่ราชการ สถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา และอาคารมหาวิทยาลัย ร้อยละ 81.2, 65.6, 49.9, 34.9, 21.8, 23.3 และ 17.1 ตามลำดับ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) วัยรุ่นเป็นวัยที่มีพฤติกรรมอยากรู้อยากลองมากกว่าคนวัยอื่น จากการสำรวจพบว่าสาเหตุสำคัญที่ทำให้วัยรุ่นสูบบุหรี่ คือ ทำตามเพื่อน ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ สภาพแวดล้อมภายในครอบครัวชักนำ โดยเอาอย่างจากสมาชิกในครอบครัวที่สูบบุหรี่ โดยหลงผิดคิดว่าการสูบบุหรี่เป็นความโก้เก๋ นอกจากนี้พฤติกรรมการสูบบุหรี่ยังเกิดจากการได้รับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาต่างๆ ทำให้มีความเชื่อผิดๆ เช่น เชื่อว่าเมื่อสูบบุหรี่จะทำให้สมองปลอดโปร่ง จิตใจแจ่มใส่ และไม่ง่วงนอน จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงทำให้ชมรม TO BE NUMBER ONE วิทยาลัยการสาธารณสุข จังหวัดยะลา ได้จัดโครงการนี้เกิดขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้กับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาถึงพิษภัยของบุหรี่และเพื่อป้องกันไม่ให้มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้น และยังสามารถนความรู้ไปถ่ายถอดสู่เพื่อนๆ สมาชิกในครอบครัว ตลอดจนพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเยาวชนคนอื่นๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 ลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า
  2. ข้อที่ 2 ลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการและกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมแกนนำนักศึกษา
  3. กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้นักเรียนในโรงเรียน 5 โรงเรียน ๆ ละ 100 คน โดยนักศึกษาที่เป็นแกนนำ To be number one จำนวน 20 คน (ให้ความรู้นักศึกษาเรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่กับสุขภาพและเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ในการตรวจสุขภาพเบื้องต้น)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักศึกษาผู้เป็นแกนนำชมรม To be number one มีความรู้ และตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ มีความสามารถในการเป็นวิทยากรเพื่อรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
  2. นักเรียนในโรงเรียนเป้าหมายที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครยะลามีความรู้ และตระหนักถึงพิษภัยของของบุหรี่
  3. ผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในเขตเทศบาลนครยะลามีอัตราลดลง และผู้สูบบุหรี่รายเก่าเลิกสูบบุหรี่ในอัตราที่สูงขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 ลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า 80 2. ลดอัตราการสูบบุหรี่ของเยาวชน นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ในวิทยาลัยร้อยละ 30
80.00

 

2 ข้อที่ 2 ลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : 3. ลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่ร้อยละ 80 4. มีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และแนวทางในการเลิกของบุหรี่ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 600
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 ลดอัตราการสูบบุหรี่ของนักสูบหน้าเก่า (2) ข้อที่ 2 ลดอัตราการเพิ่มของกลุ่มเสี่ยงหรือนักสูบหน้าใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์โครงการและกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบโครงการ (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมแกนนำนักศึกษา (3) กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้นักเรียนในโรงเรียน 5 โรงเรียน ๆ ละ 100 คน โดยนักศึกษาที่เป็นแกนนำ To be number one จำนวน 20 คน (ให้ความรู้นักศึกษาเรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่กับสุขภาพและเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ในการตรวจสุขภาพเบื้องต้น)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพี่สอนน้องป้องกันนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเยาวชนเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 - L7452 – 2 - 19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกิติยาภรณ์ เขียนภูเขียว หัวหน้าโครงการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด