กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกุลธิดา จันทร์แก้ว เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 144,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“ยาเสพติด”ถือเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมและเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลจึงได้ประกาศเป็นนโยบายเร่งด่วนกำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติจากข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการและปราบรามยาเสพติด (ปปส.) พบว่ากลุ่มผู้เกี่ยวข้องยาเสพติดรายใหม่ยังคงเป็นปัญหาหลักในอนาคต ซึ่งพบว่ามีสัดส่วนสูงทั้งในกลุ่ม ผู้ค้าและกลุ่มผู้เสพ กลุ่มเยาวชนอายุ ๑๕-๒๔ ปีถือเป็นกลุ่มหลักที่เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งพบทั้งที่อยู่ใน สถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยกลุ่มนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับประถมศึกษาเป็นสอง กลุ่มที่มีโอกาสเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ซึ่งหากสามารถผลักดันให้นักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับปวช. เรียนต่อถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปวส. ได้จะทำให้อัตราการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดลดลงกลุ่มเยาวชนหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปีมีพฤติกรรมเสี่ยงทั้งการมีประสบการณ์ในการมี เพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรสูงกว่ากลุ่มอายุอื่นๆการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เช่นโรคเอดส์ ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวผลจากการวิจัยระบุว่า เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เด็กมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด จากผลกระทบดังกล่าว วิทยาลัยอาชีวศึกษาผดุงประชายะลาจึงได้จัดทำโครงการสร้างเยาวชนเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติดและ ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและโรคเอดส์นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลาจังหวัดยะลา โดยได้คัดกรองนักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาสามารถจำแนกได้ดังนี้นักศึกษาทั้งหมด 410 คน นักศึกษากลุ่มปลอดจำนวน374คน กลุ่มเสี่ยงจำนวน36คน คิดเป็น 8.78 % เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด โดยให้ความรู้ ความเข้าใจสร้างเจตคติ มีทักษะปฏิเสธให้นักเรียนนักศึกษาตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษาสร้างเกราะป้องกันเรื่องยาเสพติดและโรคเอดส์สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดสู่ครอบครัวและชุมชนพร้อมเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราผู้เสพรายใหม่ในสถานศึกษา
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกัน ยาเสพติด
  3. ข้อที่ 3 ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษาแกนนำ จำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชาย/หญิง ระดับชั้น ปวช. จำนวน 110 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 12 คน รวมเป็น 122 คน ระยะเวลา 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชาย/หญิง ระดับชั้น ปวส. จำนวน 300 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 12 คน รวมเป็น 312 คน ระยะเวลา 1 วัน
  4. กิจกรรมที่ 4 เดินรณรงค์ต้านยาเสพติดของนักเรียนชายและหญิง จำนวน 410 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 24 คน รวมเป็น 434 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 410
กลุ่มวัยทำงาน 24
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน นักศึกษามีภูมิป้องกันมีทักษะปฏิเสธห่างไกลจากยาเสพติดและการเสพยาเสพติดของนักเรียนรายใหม่ลดลง
  2. นักเรียนนักศึกษามีความรู้และเข้าใจการป้องกันยาเสพติดและความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์เพศศึกษา
  3. นักเรียนกลุ่มเสี่ยงร้อยละ80ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราผู้เสพรายใหม่ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราการเสพยาเสพติดรายใหม่ในวิทยาลัยร้อยละ 10
10.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกัน ยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และเข้าใจโทษของพิษภัยยาเสพติด ร้อยละ 80
80.00

 

3 ข้อที่ 3 ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 434
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 410
กลุ่มวัยทำงาน 24
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราผู้เสพรายใหม่ในสถานศึกษา (2) ข้อที่ 2  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจการป้องกัน ยาเสพติด (3) ข้อที่ 3  ผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจของการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  ร่วมกับคณะอาจารย์ และนักเรียน  นักศึกษาแกนนำ จำนวน  50  คน    (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชาย/หญิง ระดับชั้น ปวช. จำนวน  110 คน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน      12 คน รวมเป็น 122 คน    ระยะเวลา 1 วัน  (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นักเรียนชาย/หญิง ระดับชั้น ปวส.  จำนวน  300 คน  และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  จำนวน      12  คน  รวมเป็น 312 คน  ระยะเวลา 1 วัน (4) กิจกรรมที่ 4  เดินรณรงค์ต้านยาเสพติดของนักเรียนชายและหญิง จำนวน 410 คน  และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  จำนวน  24  คน รวมเป็น  434 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันยาเสพติดในเยาวชนวิทยาลัยอาชีวศึกษา ผดุงประชายะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกุลธิดา จันทร์แก้ว เลขานุการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด