กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ


“ โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี ”

ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นาย พลสันต์ อักษรนิตย์

ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2537-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2537-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปี ๒๕๓๑ องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศที่จะกวาดล้างโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้หมดไปจากโลก กระทรวงสาธารณสุข จึงกำหนดนโยบายที่จะกวาดล้างโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้หมดไปจากทุกพื้นที่ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี ๒๕๓๗ จนถึงปัจจุบัน นับเป็นปีที่ ๑๘ กลุ่มเด็กเป้าหมายได้รับวัคซีนในช่วงรณรงค์ด้วยผลความครอบคลุมในระดับสูงกว่าร้อยละ ๙๕ มาตลอด อย่างไรก็ดี ในแต่ละปียังมีเด็กเกิดใหม่ รวมทั้งเด็กเล็กในกลุ่มแรงงานเคลื่อนย้ายอพยพ ทั้งที่เป็นเด็กไทยและเด็กต่างด้าว ที่พลาดโอกาสการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอตามระบบปกติ หรือยังได้รับวัคซีนไม่ครบถ้วนตามกำหนด ซึ่งนับเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อที่อาจแพร่ระบาดเข้ามาจากภายนอกประเทศได้ การระดมให้วัคซีนแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายพิเศษ จึงเป็นกลวิธีสำคัญที่ช่วยลดโอกาสการเกิดโรค และการหวนกลับมาระบาดใหม่ของโรคในประเทศไทย
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จึงกำหนดให้มีการรณรงค์ให้เด็กไทยในตำบลมูโนะได้รับวัคซีนได้ครบถ้วนทุกราย  ทั้งนี้ เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาการระบาดข้ามประเทศ จากประเทศที่ยังมีโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคประจำถิ่นไปนั้นยังไม่ปลอดจากโรคที่เป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศต้องหาวิธีการควบคุมป้องกัน ขณะเดียวกันยังพบปัญหาการได้รับวัคซีนไม่ครบถ้วนในประชากรกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่ม บางพื้นที่ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อต่อไปภายในประเทศ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี มีภูมิต้านทานต่อโรคเพียงพอที่จะป้องกันการแพร่เชื้อโรคชนิดก่อโรคจากภายนอกเข้ามาในประเทศ
  2. ๒.ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค อันเนื่องจากระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำ แก่เด็กไทยอายุต่ำกว่า ๕ ปี ครอบคลุม ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๐ ในพื้นที่เป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แจ้งในที่ประชุม ประจำเดือน อสม. ตำบลมูโนะ
  2. ประสานแจ้งให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงเรียนในสังกัดทุกโรง, และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งในการสำรวจข้อมูลเด็กกลุ่มเป้าหมาย
  3. สำรวจเด็กกลุ่มเป้าหมายอายุต่ำกว่า ๕ ปี โดย อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กอายุต่ำกว่า ๕  ปี  ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ครบถ้วนรณรงค์ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ ก่อให้เด็กเกิดภูมิต้านทานต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ส่งผลให้ตำบลมูโนะ  ลดภาวะเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อ และบรรลุเป้าหมายการกวาดล้างโรคต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี มีภูมิต้านทานต่อโรคเพียงพอที่จะป้องกันการแพร่เชื้อโรคชนิดก่อโรคจากภายนอกเข้ามาในประเทศ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ๒.ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค อันเนื่องจากระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำ แก่เด็กไทยอายุต่ำกว่า ๕ ปี ครอบคลุม ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๐ ในพื้นที่เป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้เด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปี มีภูมิต้านทานต่อโรคเพียงพอที่จะป้องกันการแพร่เชื้อโรคชนิดก่อโรคจากภายนอกเข้ามาในประเทศ (2)    ๒.ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค อันเนื่องจากระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำ แก่เด็กไทยอายุต่ำกว่า ๕ ปี  ครอบคลุม ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๐ ในพื้นที่เป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1)  แจ้งในที่ประชุม  ประจำเดือน อสม. ตำบลมูโนะ  (2) ประสานแจ้งให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น  โรงเรียนในสังกัดทุกโรง, และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่งในการสำรวจข้อมูลเด็กกลุ่มเป้าหมาย (3) สำรวจเด็กกลุ่มเป้าหมายอายุต่ำกว่า  ๕  ปี  โดย อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัคซีนครบถ้วนเด็กไทยสุขภาพดี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2537-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย พลสันต์ อักษรนิตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด