กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ


“ สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561 ”

ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาริสา มะอาแซ

ชื่อโครงการ สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2537-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2537-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย รองลงมาเป็นมะเร็งปากมดลูก (Cervical Cancer) มะเร็งทั้งสอง นับเป็นภัยร้ายใกล้ตัวผู้หญิงทุกคน และเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่ง และสอง โดยในปี 2556 มีผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รอการรักษากว่า 13,000 คน/ปี อีกทั้งมะเร็งเต้านมที่พบในผู้หญิงไทยมีแนวโน้มที่น่าเป็นห่วง เนื่องจากพบในผู้ที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ถึง 33% และ ยังเคยตรวจพบมะเร็งเต้านมในผู้หญิงอายุ 18 ปี ซึ่งถือว่าอายุน้อยมาก อีกทั้งภาพรวมปัจจุบันพบในผู้หญิงอายุ 20 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น เพราะฉะนั้นผู้หญิงที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงานก็อาจมีความเสี่ยง จึงควรเริ่มตรวจด้วยเช่นกัน และ จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบผู้หญิงเป็นมะเร็งเต้านมร้อยละ 37 ของมะเร็งทั้งหมด และยังมีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับสองรองจากมะเร็งปอด ดังนั้นการดูแลตัวเองเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง และการค้นพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในขณะที่ก้อนมีขนาดเล็ก และก้อนมะเร็งยังอยู่เฉพาะที่เต้านม ยังไม่แพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลือง จึงเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ จะมีโอกาสหายขาดมากขึ้น เมื่อเทียบกับการตรวจพบก้อน มะเร็งที่มีขนาดใหญ่ หรือกระจายไปต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้แล้ว โดยหากมีการตรวจพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้น มีโอกาสที่จะมีชีวิตเกิน 5 ปีถึงร้อยละ 98 ถ้าตรวจเจอ ตอนก้อนมะเร็งกระจายไปที่ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้แล้ว มีโอกาสที่จะมีชีวิตเกิน 5 ปีร้อยละ 84 และถ้าตรวจเจอ ตอนมะเร็งแพร่กระจายไปแล้ว โอกาสที่จะมีชีวิตเกิน 5 ปี มีเพียงร้อยละ 23 และยังไม่แพร่กระจายจะทำให้มีโอกาสรอดชีวิตสูง ก้อนขนาดเล็กก่อนที่จะรู้เรื่องมะเร็งท่านต้องทราบ(จากสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย ,สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมอนามัยและกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข,) และสำหรับโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งจะมีผลให้เสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากดลูก ต้องมีการค้นหาโดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 -60 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากปากมดลูกได้ ร้อยละ 99.08         จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมูโนะ ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา มีสตรีวัยเจริญพันธุ์อายุ 30-60ปี พบว่าปีงบประมาณ 2558 มีสตรีกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ร้อยละ 16  ทั้งนี้เนื่องมาจากประชาชนยังมีความตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูก และความจำเป็นในการประกอบอาชีพอีกทั้งอาจเข้าใจว่าโรคมะเร็งปากมดลูกไม่เกิดกับทุกคนเพราะในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ยังพบผู้ป่วยน้อยเมื่อเทียบกับโรคอื่น ๆ           ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความผิดปกติตั้งแต่แรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น  จึงได้มีการปรับกลวิธีการดำเนินงานโดยเน้นการทำงานแบบเชิงรุก มากว่าเชิงรับ โดยเฉพาะการให้ความรู้ความเข้าใจแก่กลุ่มเป้าหมายถึงชุมชนทุกพื้นที่ โดยใช้ศักยภาพและทุนทางสังคมของชุมชนที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในการจัดทำกิจกรรมโครงการ  “สตรีมูโนะ ห่างไกลภัยมะเร็งปากมดลูกโดยชุมชนมีส่วนร่วม” และเน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแนะนำและประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้ตรวจมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะแรกให้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกระดับหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. 2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60ปี ได้รับตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูก มากว่าร้อยละ 20
  3. 3 .เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้เร็วขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และฟื้นฟูความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ให้แก่ อสม.ทุกคนในเวทีประชุมประจำเดือน ของอสม. เพื่อให้อสม.ประชาสัมพันธ์ขยายเครือข่ายให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก   2.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก       3.ลดอัตราการตายโดยสาเหตุจากโรคมะเร็งปากมดลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60ปี ได้รับตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูก มากว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3 .เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้เร็วขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)    1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2)            2. เพื่อให้หญิงอายุ 30-60ปี ได้รับตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูก มากว่าร้อยละ 20 (3)              3 .เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้เร็วขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และฟื้นฟูความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  ให้แก่ อสม.ทุกคนในเวทีประชุมประจำเดือน ของอสม. เพื่อให้อสม.ประชาสัมพันธ์ขยายเครือข่ายให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สตรีมูโนะ ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลมูโนะ ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2537-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาริสา มะอาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด