กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1

ชื่อโครงการ โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 06/61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 06/61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกมานานกว่า 50 ปี ปัจจุบันโรค ไข้เลือดออก มีการระบาดกระจายไปทั่วประเทศ ทุกจังหวัด และอําเภอการกระจายของโรคมีการเปลี่ยนแปลง ตามพื้นที่อยู่ตลอดเวลา ปัจจัยที่มีความสําคัญต่อการแพร่กระจายของโรคมีความซับซ้อนและแตกต่างกันในแต่ ละพื้นที่ และยังมีส่วนทําให้รูปแบบการเกิดโรคมีความผันแปรไปในแต่ละปี ดังนั้นแนวคิดด้านการรายงาน สถานการณ์โรค จึงเปลี่ยนไปสู่การสร้างสรรค์ความคิด โดยการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการ “ป้องกัน” และ “เตือนภัย” ในเหตุการณ์ต่างๆ มากขึ้น นําไปสู่การทํานาย (Forecast) หรือพยากรณ์ (Prediction) เพื่อคาดการณ์สถานการณ์โรคล่วงหน้า รวมทั้งการประเมินความ เสี่ยงทางสุขภาพ (Health Risk Assessment) รายพื้นที่ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยให้ฝ่ายบริหารสามารถ ตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย แผนงานและกลยุทธ์ในการป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ต่อไป การพยากรณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2561 ใช้วิธีการทางสถิติแบบอนุกรมเวลา  (Time series analysis) แบบ ARIMA โดยใช้ข้อมูลจํานวนผู้ป่วยย้อนหลังอย่างน้อย 10 ปี (ปีพ.ศ. 2551-2560) ซึ่งผลการวิเคราะห์ คาดว่าจะมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปีพ.ศ. 2561 ประมาณ 74,000 – 75,000 ราย คาดว่าจะมีจํานวนผู้ป่วย เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ประมาณ 28 - 29% และอัตราป่วยตายอยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 0.11 ทั้งนี้โดยมีอิทธิพลจาก การเปลี่ยนแปลงของไวรัสเดงกีชนิด DENV-2 ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น โดยกลุ่มเสี่ยงสําคัญยังคงเป็น กลุ่มนักเรียน นักศึกษา อยู่ระหว่างกลุ่มอายุ 15 – 24 ปี (ประมาณร้อยละ 25.58) สําหรับการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงระดับอําเภอ โดยใช้แนวคิดด้านการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) โดยทําการวิเคราะห์ทางสถิติเชิงพื้นที่ (Geo-statistical Analysis) แบบ Inverse Distance Weighting; IDW และใช้ GIS Software เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระดับอําเภอ จากปัจจัยพื้นที่ ที่มีจํานวนผู้ป่วยไข้เลือดออกหนาแน่นซ้ำซาก และแนวโน้มความรุนแรงของการระบาดต่อเนื่องในปีถัดไป ผลการวิเคราะห์คาดว่ามีจํานวนพื้นที่เสี่ยงระดับอําเภอทั้งสิ้น จํานวน 237 อําเภอ ใน 70 จังหวัด จากผลการพยากรณ์โรคไข้เลือดออกและการประเมินพื้นที่เสี่ยง ที่คาดว่าจะเกิดการระบาด ต่อเนื่องไปจนถึงปี 2561 ดังกล่าว กรมควบคุมโรคจึงต้องมีการกําหนดแผนงาน มาตรการ และการใช้ ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงต้องเน้นมาตรการการป้องกันโรคล่วงหน้า โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะช่วงเวลาสําคัญที่ควร ดําเนินการคือช่วงเดือน มกราคม – เมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่โอกาสการแพร่โรคเกิดน้อยที่สุด ทั้งนี้องค์ประกอบ สําคัญของการดําเนินการคือความร่วมมือจากประชาชน ชุมชน อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ส่วนการควบคุมโรค มีความจําเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้าน อุปกรณ์เครื่องมือ สารเคมีและทีมสอบสวนควบคุมโรค (CDCU) ให้มีความเพียงพอและมีประสิทธิภาพที่สามารถควบคุมโรคได้ อย่างทันเวลาในพื้นที่เสี่ยงและ/หรือพื้นที่เกิดโรค เพื่อควบคุมการระบาดไม่ให้เกิดการแพร่กระจายในวงกว้าง ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 บ้านสะเก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นในกลุ่มเด็กนักเรียน เนื่องจากกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มเด็กที่จะเกิดโรคมากที่สุดจากรายงานสถานการณ์โรคที่ผ่านมา จึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดโรคในชุมชน และลดอัตราป่วยในพื้นที่ลง โดยอาศัยความร่วมมือในทุกระดับตั้งแต่ครัวเรือนจนถึงระดับชุมชน และมีพฤติกรรมร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องทั้งชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อสร้างความร่วมมือในการป้องกันโรคระหว่างหน่วยงานในพื้นที่และในชุมชน
  4. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ผืน
  2. ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในโรงเรียน จำนวน 3 โรงๆละ 300 บาท x 4 ครั้งๆละ 2 คน
  3. ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันใน (ศพด) จำนวน 2 แห่งๆละ 300 บาท x 4 ครั้งๆละ 2 คน
  4. ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในโรงเรียนเอกชนและสถาบันการศึกษาปอเนาะ จำนวน 4 แห่งๆละ 300 บาท x จำนวน 4 ครั้งๆละ 2 คน
  5. ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในมัสยิดและโรงเรียนตาดีกา จำนวน 12 แห่งๆละ 300 บาท
  6. ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วย จำนวน 60 หลังๆละ 300 บาท x 2 ครั้ง
  7. ค่าอุปกรณ์เครื่องพ่น เช่น เครื่องชาร์ต / ถ่านชาร์ต หัวเทียน
  8. ค่านำมันเชื้อเพลิง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี 6.2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 6.3 ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
30.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
1.00

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในการป้องกันโรคระหว่างหน่วยงานในพื้นที่และในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในการป้องกันโรคระหว่างหน่วยงานในพื้นที่และในชุมชน (4) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกนำ้ยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ผืน (2) ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในโรงเรียน จำนวน 3 โรงๆละ 300 บาท x 4 ครั้งๆละ 2 คน (3) ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันใน (ศพด) จำนวน 2 แห่งๆละ 300 บาท x 4 ครั้งๆละ 2 คน (4) ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในโรงเรียนเอกชนและสถาบันการศึกษาปอเนาะ จำนวน 4 แห่งๆละ 300 บาท x จำนวน 4 ครั้งๆละ 2 คน (5) ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันในมัสยิดและโรงเรียนตาดีกา จำนวน 12 แห่งๆละ 300 บาท (6) ค่าตอบแทนการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วย จำนวน 60 หลังๆละ 300 บาท x 2 ครั้ง (7) ค่าอุปกรณ์เครื่องพ่น เช่น เครื่องชาร์ต / ถ่านชาร์ต หัวเทียน (8) ค่านำมันเชื้อเพลิง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพ่นหมอกควันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 06/61

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด