กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารเช้าเพื่อน้องของโรงเรียนวัดเจดีย์งาม
รหัสโครงการ 60-L7251-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดเจดีย์งาม
วันที่อนุมัติ 22 ธันวาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนวัดเจดีย์งาม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.631,100.374place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.พ. 2560 20 ก.พ. 2560 30,000.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วย โรงเรียนวัดเจดีย์งามมีความประสงค์จะจัดทำโครงการอาหารเช้าเพื่องน้องเพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 6-12 ปี ในปีงบประมาณ 2560 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคลองใหม่ เป็นเงิน 30,000 บาท

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กในวัยเรียน 6 -12 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

 

2 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ

 

3 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กในวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเติบโตสมวัย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนกองทุนฯ เพื่อจัดหา
  2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 6 - 12 ปี ในโรงเรียนวัดเจย์ดีงาม
  3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองทราบ
  4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
  5. อบรมเชิงปฏิบัติการในการในการดูแลน้ำหนักเด็ก
  6. จัดซื้ออาหารเช้า ให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ
  7. ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง จนครบ 3 - 6 เดือน และแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 90 เด็ก 6 - 12 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุม
  2. เด็ก 6 -12 ปี มีปัญหาภาวะโภชนาการไม่เกินร้อยละ 20
  3. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2560 14:45 น.