กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการ รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3332-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรคลุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือส่วนใหญ่ต้องรักษาไปตลอดชีวิต ซึ่งนอกจากจะบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพจิตแล้ว ยังเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจของตัวผู้ป่วยเอง และส่งผลถึงเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมด้วย และหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ ที่รุนแรงตามมา ถึงขั้นพิการและเสียชีวิตได้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นภาวะวิกฤตในปัจจุบัน คือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคอ้วน       ปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีการระบุว่าความเครียดในชีวิต ยังเป็นปัจจัยร่วมที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังได้ คนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังคือ ผู้มีภาวะอ้วน ผู้ที่มีคลอเรสเตอรอลในเลือดสูง ผู้มีอายุเกิน 35 ปี  ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย และผู้ที่มีภาวะเครียดสูง       อย่างไรก็ตามพฤติกรรมสุขภาพไม่ใช่สิ่งที่จะปรับเปลี่ยนได้ง่ายเพราะบุคคลมักจะเคยชินกับพฤติกรรมที่ปฏิบัติมานาน แม้จะมีความรู้และมีทัศนคติที่ถูกต้องก็อาจไม่ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ตัวอย่างเช่น คนมีความรู้ว่า การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพ รวมถึงรู้สึกว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งที่ดีและควรทำ แต่ก็มีคนจำนวนมากที่ไม่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ด้วยเหตุผลในเรื่องของเวลา ความขี้เกียจ ความจำกัดด้านสถานที่ เป็นต้น จึงเห็นได้ว่าการปรับเปลี่ยนความรู้ และทัศนคตินั้น ไม่เพียงพอต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ผ่านมาบุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบโครงการด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มักให้ความสำคัญกับการให้ความรู้และปรับทัศนคติเท่านั้น ทำให้ไม่เกิดผลลัพธ์ที่ดี มีทฤษฎีพฤติกรรมสุขภาพมากมายที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล   ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังขึ้นเพื่อเป็นการพัฒนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่บุคคลกลุ่มเสี่ยง เพื่อไม่ให้เป็นบุคคลกลุ่มป่วยและพิการในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้สามารถเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้
  2. เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  3. เพื่อประหยัดงบประมาณในการใช้ยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่กลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อไม่เรื้อรัง
  2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อสม.มีความรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ๒. จำนวนการเพิ่มของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดลงจากปีที่ผ่านมา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ อสม.

วันที่ 18 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน84 คน

 

74 0

2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่กลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อไม่เรื้อรัง

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่กลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อไม่เรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 130 คน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้สามารถเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อประหยัดงบประมาณในการใช้ยา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้สามารถเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยได้ (2) เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) เพื่อประหยัดงบประมาณในการใช้ยา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่กลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ แก่ อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3332-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการ รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด