กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม ปี 2561
รหัสโครงการ 07/61
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1
วันที่อนุมัติ 19 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 19,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยามีล๊ะ สะตี
พี่เลี้ยงโครงการ มาเรียม
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 เม.ย. 2562 20 เม.ย. 2562 20 เม.ย. 2562 20 เม.ย. 2562 19,500.00
2 0.00
3 0.00
รวมงบประมาณ 19,500.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคโดยกระบวนการ 3อ2ส
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 350 19,500.00 0 0.00
20 เม.ย. 61 ค่าอาหารกลางวัน 70 5,600.00 -
20 เม.ย. 61 ค่าอาหารว่าง 70 4,900.00 -
20 เม.ย. 61 ค่าวิทยากรกิจกรรมอบรม 70 3,600.00 -
20 เม.ย. 61 ค่าวัสดุอบรม 70 4,200.00 -
20 เม.ย. 61 ค่าไวนิล 70 1,200.00 -

1.จัดประชุมคณะกรรมการประกอบด้วย อสม ผู้นำชุมชน เป็นต้น ในการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.จัออบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดังนี้
  2.1 จัดกิจกรรม/อบรมให้คว่มรู้ ความเข้าใจ เพิ่มพูนทักษะ ความรู้เกี่ยวกับโรคความโลหิตสูง โรคเบาหวาน อาหารสุขภาพ การออกกำลัง การจัดการความเครียดที่เหมาะสม   2.2 นำเสนอวิชาการ(ไวนิล) โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน พฤติกรรมสุขภาพที่พึ่งประสงค์   2.3 การตรวจสุขภาพ ชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว วัดระดับนำ้ตาลในเลือด 3. ประกวดบุคคลต้นแบบเพื่อเป็นแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมาสุขภาพในชุมชน 4.ติดตามประเมินผลและรายงานผลการทำงานตามโครงการติดตามประเมินผลหลังดำเนินงานครบทุก 1 เดือน จำนวน 6 ครั้ง (เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม) โดยการจัดประชุมกลุ่ม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ตรวจวัดระดับความดันโลหิต ระดับนำ้ตาลในเลือด ชั่งนำหนัก วัดรอบเอว เพื่อเป็นการติดตามผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และสุขภาพดี อัตราเกิดโรคเรื้อรังลดลงและเป็นแกนนำเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชนได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2561 12:16 น.