กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ


“ โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาลาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรก การตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่งกายจะมีการเปลีวยนแปลงอย่างสลับซับซ้อน สัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในภรรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธาภาพกับครอบครัว เป็นต้น เป้าหมายสูงสุดของอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตังครรภ์และขณะตั้งครรภ์ การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุมาดาที่อายุน้อยและมารดาที่อายุมากมีผลต่อการตังครรภ์และการคลอดทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น การคลอดก่อนกำหนด วิธีการคลอดน้ำหนักทารกแรกเกิด และการตายของมารดาและทารกปริกำเนิด ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่ไม่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ การดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายด้านจิตใจ และด้านสังคม เพื่อรองรับบทบาทหน้าที่และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซี่งสถานการณ์การดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์เขตพื้นที่ย้อนหลัง 3 ปี คือในปี 2557-2559พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 77.52 , 69.14 และ 69.14 ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 85.71 , 68.92 และ 65.67 ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง (HCT

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็กมากขึ้น
  2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60
  4. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และสร้างความตระหนักในคุณค่าของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  5. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คอลดนต้อยกว่าร้อยละ 10
  6. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 70

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีความตระหนังถึงความสำคัญของโรคภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพให้ดีขึ้น ทำให้ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง กระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ เพื่อนำความรู้ในการอบรมไปปฏิบัติได้ถูกต้องและเหมาะสม
    2. แกนนำสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้องในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักในงานอนามัยแม่และเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้เกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็กมากยิ่งขึ้น

     

    150 150

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากผลการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปี 2560 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพให้ดีขึ่้น ทำให้ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง กระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็กมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และสร้างความตระหนักในคุณค่าของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คอลดนต้อยกว่าร้อยละ 10
    ตัวชี้วัด :

     

    6 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 70
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับอนามัยแม่และเด็กมากขึ้น (2) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 (4) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และสร้างความตระหนักในคุณค่าของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คอลดนต้อยกว่าร้อยละ 10 (6) หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 70

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาคุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาลาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะต๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด