กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค อาหารปลอดภัย
รหัสโครงการ 59-L4127-1-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 31 พฤษภาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2559 - 30 กันยายน 2559
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 11,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสันต์เดุะแอ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรอีมานีหะะมะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การบริโภคอาหารของคนไทยปัจจุบันมักนิยมทานอาหารปรุงสำเร็จไม่ว่าจะเป็นอาหาร fast food อาหารปิ้งย่าง อาหารทอด และน้ำดื่ม ซึ่งบางครั้งผู้จำหน่ายไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคทำให้จำหน่ายสินค้าที่ไม่มีความปลอดภัย การตรวจสอบสินค้าประเภทอาหารจึงเป็นการคัดกรองเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายสินค้าจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะจึงจัดจัดทำโครงการเพื่อทดสอบสารอาหารจำนวน 4 ประเภท ได้แก่ 1 .ทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมัน 2.ทดสอบสารอัลฟาทอกซินในอาหารแห้ง 3. ทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหารทะเล 4. ทดสอบสารฟอกขาวในอาหารดอง การคัดกรองเบื้องต้นนี้จะช่วยทำให้เกิดความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการบริโภคสินค้าและการจำหน่ายอาหารต่อผู้บริโภค ซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้บริโภคต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร

ร้อยละของการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร

2 2. เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารในร้านแผงลอยปลอดสารเคมีปนเปื้อน 5 ชนิด

ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริโภคที่ได้บริโภคอาหารในร้านแผงลอยปลอดสารเคมีปนเปื้อน 5 ชนิด

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. สำรวจร้านอาหารในพื้นที่
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสารปนเปื้อนในอาหาร
  3. ดำเนินการเก็บตัวอย่างและตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  4. ประเมินโครงการ สรุปโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น
  2. ผู้จำหน่ายให้ความเอาใจใส่ในการคัดเลือกคุณภาพของอาหารที่จะนำมาจำหน่าย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ