โครงการชุมชนน่าอยู่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนน่าอยู่ ”
องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาลีมา เยนหะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนน่าอยู่
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4165-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนน่าอยู่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนน่าอยู่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนน่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4165-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการเกิดโรคต่างๆ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรคมากมาย ประกอบด้วยบุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งในการป้องกันและควบคุมโรคจะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อย และที่สำคัญ คือสิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ ไม่มีขยะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค โดยเฉพาะแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สาเหตุของโรคไข้เลือดออก สัตว์ต่างๆ เช่น หนู แมลงสาป แมลงวัน ที่เป็นพาหนะนำโรคต่างๆ และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนทำได้ ปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใด ชุมชนใด มีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคต่างๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนนั้นๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ดังกล่าว ซึ่ง การดำเนินการป้องกันควบคุมโรคต่างๆ จะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน
ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลวังพญา ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการกระตุ้น การสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชนในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน/ชุมชน ก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
- 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้ายไวนิล
- อาหารกลางวัน
- อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
- อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่
- วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนตื่นตัวและมีจิตสำนึกเกิดความร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
- แหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคใน หมู่บ้าน/ชุมชน ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ป้ายไวนิล
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดจ้างทำป้ายไว้นิลโครงการชุมชนน่าอยู่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับป้ายไวนิลโครงการชุมชนน่าอยู่ จำนวน 1 ป้าย
1
0
2. อาหารกลางวัน
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดจ้างทำอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด
100
0
3. อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดจ้างทำอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ จำนวน 100 ชุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 100 ชุด เป็น 200 ชุด
100
0
4. อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ค่อตอบแทนวิทยากร 2 ท่านๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยากร 2 ท่านๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท
2
0
5. วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม
1. กระดาษบรุ๊ฟ 1 โหลๆละ 35 เป็นเงิน 35.- บาท
2. ปากกาเคมี (แดง/น้ำเงิน) 10 ด้ามๆ ละ 20 เป็นเงิน 200.- บาท
3. ถุงดำ 2 แพ็คๆ ละ 50 เป็นเงิน 100.- บาท
4. ไม้ 100 อันๆ ละ 5 เป็นเงิน 500.- บาท
5. ตะปู 1 นิ้วครึ่ง 1 กก.ๆ ละ 84 เป็นเงิน 84.- บาท
6. ตะปู 2 นิ้ว 1 กก.ๆ ละ 72 เป็นเงิน 72.- บาท
7. ตะแกรงเหล็ก 20 เมตรๆ ละ 110 เป็นเงิน 2,200.- บาท
8. กากน้ำตาล 20 กก.ๆ ละ 40 เป็นเงิน 800.- บาท
9. หัวเชื้อ EM 4 แกลอนๆ ละ 90 เป็นเงิน 360.- บาท
10. ตะกร้า 1 ใบ ๆละ 100 เป็นเงิน 100.- บ่าท
11. กระเป๋าผ้า 5 ใบๆ ละ 50 เป็นเงิน 250.- บาท
12. ถัง 2 ใบๆ ละ 100 เป็นเงิน 200.- บาท
13. ฟิวเจอร์บอร์ด 4 แผ่นๆ ละ 55 เป็นเงิน 220.- บาท
14. กระสอบแดง 10 ใบๆ ละ 10 เป็นเงิน 100.- บาท
15. ค่าเศษผัก 10 กก. เป็นเงิน 129.- บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 15 รายการ
15
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินงานโครงการชุมชนน่าอยู่ มีจำนวนผู้เข้าร่วม 100 คน เป็นไปตามเป้าหมายที่่ได้วางไว้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นและเข้าใจถึงวิธีการในการคัดแยกขยะ รู้จักวิธีการนำขยะมาใช้ประโยชน์ เช่น การหัวเชื้อ การทำปุ่๋ย การทำถังขยะใช้เองแบบง่าย ใช้วัสดุที่หาได้ตามบ้านเรือน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
100.00
จำนวน เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึก และให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาด ลดจำนวนแหล่งเพาะพันธ์ุพาหะนำโรคในชุมชน
2
2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน (2) 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้ายไวนิล (2) อาหารกลางวัน (3) อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (4) อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่ (5) วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนน่าอยู่ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4165-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฮาลีมา เยนหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนน่าอยู่ ”
องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาลีมา เยนหะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4165-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนน่าอยู่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนน่าอยู่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนน่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลวังพญา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4165-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังพญา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการเกิดโรคต่างๆ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรคมากมาย ประกอบด้วยบุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งในการป้องกันและควบคุมโรคจะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อย และที่สำคัญ คือสิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ ไม่มีขยะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค โดยเฉพาะแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สาเหตุของโรคไข้เลือดออก สัตว์ต่างๆ เช่น หนู แมลงสาป แมลงวัน ที่เป็นพาหนะนำโรคต่างๆ และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนทำได้ ปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใด ชุมชนใด มีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคต่างๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนนั้นๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ดังกล่าว ซึ่ง การดำเนินการป้องกันควบคุมโรคต่างๆ จะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน
ชมรมรักษ์สุขภาพตำบลวังพญา ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการกระตุ้น การสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชนในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในหมู่บ้าน/ชุมชน ก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
- 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้ายไวนิล
- อาหารกลางวัน
- อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
- อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่
- วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนตื่นตัวและมีจิตสำนึกเกิดความร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
- แหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคใน หมู่บ้าน/ชุมชน ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ป้ายไวนิล |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดจ้างทำป้ายไว้นิลโครงการชุมชนน่าอยู่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับป้ายไวนิลโครงการชุมชนน่าอยู่ จำนวน 1 ป้าย
|
1 | 0 |
2. อาหารกลางวัน |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดจ้างทำอาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด
|
100 | 0 |
3. อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดจ้างทำอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ จำนวน 100 ชุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 100 ชุด เป็น 200 ชุด
|
100 | 0 |
4. อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่ |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำค่อตอบแทนวิทยากร 2 ท่านๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยากร 2 ท่านๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท
|
2 | 0 |
5. วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่ |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 15 รายการ
|
15 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินงานโครงการชุมชนน่าอยู่ มีจำนวนผู้เข้าร่วม 100 คน เป็นไปตามเป้าหมายที่่ได้วางไว้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นและเข้าใจถึงวิธีการในการคัดแยกขยะ รู้จักวิธีการนำขยะมาใช้ประโยชน์ เช่น การหัวเชื้อ การทำปุ่๋ย การทำถังขยะใช้เองแบบง่าย ใช้วัสดุที่หาได้ตามบ้านเรือน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 | 100.00 | จำนวน เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึก และให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาด ลดจำนวนแหล่งเพาะพันธ์ุพาหะนำโรคในชุมชน |
|
2 | 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | 100 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนร่วมมือกันในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่พักอาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน (2) 2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชน/หมู่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้ายไวนิล (2) อาหารกลางวัน (3) อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (4) อบรม เชิงปฏิบัติการในการสร้างชุมชนน่าอยู่ (5) วัสดุอุปกรณ์ในการอบรมโครงการชุมชนน่าอยู่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนน่าอยู่ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4165-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฮาลีมา เยนหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......