กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์ บุตรดี มีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ2561
รหัสโครงการ 3/61
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซ่อง
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 9,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปรียากร เขียวเจริญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ้านซ่อง /ตลาดนัด ร้านอาหารในพื้นที่ ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด 13.803,101.403place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2560 28 ก.ย. 2561 9,250.00
รวมงบประมาณ 9,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 65 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
85.00
2 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
76.00
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
9.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
37.50
5 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
43.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อการตั้งครรภ์และ การคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่นมารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรงองค์การอนามัยโลกได้ศึกษาวิจัยชนิดทดลองในคลินิกดูแลสตรีตั้งครรภ์ เพื่อเปรียบเทียบ การดูแลสตรีตั้งครรภ์ตามมาตรฐานตะวันตกกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ขององค์การอนามัยโลก ซึ่งจะดูแล สตรีตั้งครรภ์ทั่วไปที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผลการศึกษาพบว่าการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อ มารดาและทารก ยังช่วยลดจำนวนครั้งการฝากครรภ์เหลือเพียง 5 ครั้ง จากมาตรฐานที่กำหนดประมาณ8- 12 ครั้ง ลดทรัพยากรที่ไม่จำเป็นของสตรีตั้งครรภ์ อีกทั้งการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่กับการดูแลตามมาตรฐานเดิม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในเรื่องภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ การ ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย สตรีตั้งครรภ์จะได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงโดยใช้ Classifying form ถ้าเป็น High risk จะไม่ใช้การดูแล สตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีความเสี่ยง 18 ข้อ จึงจะได้รับการดูแลตามระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ แนวใหม่ จะนัดหมายการดูแล 5 ครั้ง ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์12 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 26 สัปดาห์ครั้งที่ 4 อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ และครั้งที่5 อายุครรภ์ 36-38 สัปดาห์ ในแต่ละครั้งของการนัดตรวจจะกำหนดบริการ พื้นฐานที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อสตรีตั้งครรภ์ มีการคัดกรองปัญหาสุขภาพที่ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ ให้การรักษาให้การแนะนำให้ตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฉุกเฉินระหว่างตั้งครรภ์และการแก้ไข มี ช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ ที่สะดวกรวดเร็ว กรมอนามัยจึงได้ดำเนินงานโครงการดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก ใน บริบทประเทศไทยหรือ ANC คุณภาพ ได้ปรับองค์ประกอบของระบบดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ที่ไม่มีภาวะเสี่ยง เป็นจำนวน5 ครั้ง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้รับบริการมาดูแลครรภ์ อย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งเพิ่มกิจกรรมบริการที่สตรีตั้งครรภ์จะได้รับและได้ปรับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กให้ เนื้อหาสอดคล้องกับการดำเนินงานต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

85.00 90.00
2 เพิ่มเด็กแรกเกิดที่กินนมแม่

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

76.00 78.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

9.00 5.00
4 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

37.50 42.00
5 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

43.00 52.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,250.00 2 9,250.00
??/??/???? การอบรมให้ความรู้และการเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านด้านอาหารและโภชนาการ 0 5,250.00 5,250.00
??/??/???? ตรวจสารปนเปื้อนในตลาดและร้านจำหน่ายสินค้าในชุมชน 0 4,000.00 4,000.00

1.อบรมให้ความรู้เเก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด พ่อ และผู้ปกครองเด็ก0-5 ปี 2.การตรวจสารปนเปื้อนในอาหารในตลาดนัด ตลาดชุมชน เเละร้านจำหน่ายอาหาร 3.กิจกรรมการเยียมหญิงตั้งครรภ์และหณิงหลังคลอดที่บ้าน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ5 หมู่บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้นร้อยละ78 2.ร้อยละของเด็ก0-6 เดือน กินนมเเม่อย่างเดียวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ65

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.ย. 2561 15:05 น.