กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย ”
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ บ้านสนกลาง




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 สิงหาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 สิงหาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๓๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วยเื่ากับ ๑,๓๔๓.๙๗ ต่อแสนประชากรและพบผู้ป่วยทุกหมู่บ้าน ซึ่งสูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี เทียบกับปี ๒๕๕๖ และหมู่ที่ ๔ บ้านสนกลา ในปี ๒๕๖๑ พบจำนวนผู้ป่วย ๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๙๒๕.๙๒ ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยาหรือไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน ๑ ราบ คิดเป็นอัตราป่วย ๒๓๑.๔๘ ต่อแสนประชากร (ข้อมูล ๑ มกราคม - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑) ที่มา : E1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมสน หากมองข้อมูลอาจพบว่าจำนวนผู้ป่วยน้อย แต่มาตรฐานทางด้านสาธารณสุขมองในเรื่องของอัตราการป่วยต่อแสนประชากรเป็นสำคัญ ซ่ึ่งบ้านบุโบยป่วยสูงที่สุดในตำบลแหลมสน ประกอบกับหมู่บ้านข้างเคียงมีผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกหมู่บ้านและด้วยสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพดิน ฟ้า อากาศในปัจจุบันตั้งแต่ปลายปี ๒๕๖๐ จนถึงปี ๒๕๖๑ เป็นต้นมา มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี จึงทำให้มีน้ำขังประกอบกับพื้นที่ตำบลแหลมสน เป็นพื้นที่ขาดแคลนน้ำ จึงมักมีการเก็บกัก รับรองน้ำไว้ในภาชนะขังน้ำจำนวนมาก นับเป็นแหล่งแพรพันธ์ของลูกน้ำยุงลาย และภาชนะไม่มีการปกปิดกันการวางไข่ของยุงลาย และเป็นพื้นที่ปลูกมะพร้าว มักพบกะลามะพร้างขังน้ำจำนวนมากอีกด้วย ดังนั้นทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านสนกลาง จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายที่มีแนวโน้มเสี่ยงต่อการกลับมาระบาดขึ้นในพื้นที่อีกได้ จึงได้มีการจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกไข้ปวดข้อยุงลายขึ้น เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้านโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นแกนนำหลักร่่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดความชุกชุมของยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข คือค่า HI ไม่เกิน ๑๐ ค่า CI ไม่เกิน ๑๐
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง
  2. เดินรณรงค์
  3. ประชาสัมพันธ์
  4. จัดซื้อทรายทีมีฟอส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายของ บ้านสนกลาง หมู่ที่ ๔ ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดและประชาชนในหมู่บ้านมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ส่งผลให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในหมู่บ้าน จึงทำให้ลดภาวะเสี่ยงจากการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดความชุกชุมของยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข คือค่า HI ไม่เกิน ๑๐ ค่า CI ไม่เกิน ๑๐
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุขกำหนด คือค่า HI ไม่เกิน ๑๐ ค่า CI ไม่เกิน ๑๐
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจากโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ หมู่ที่ ๔ ลดจำนวนลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดความชุกชุมของยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข  คือค่า  HI  ไม่เกิน  ๑๐  ค่า  CI  ไม่เกิน  ๑๐ (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง (2) เดินรณรงค์ (3) ประชาสัมพันธ์ (4) จัดซื้อทรายทีมีฟอส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ บ้านสนกลาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด