กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ”
ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวณริณพิศพัฒน์ บุตรขันธ์




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5226-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กันยายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5226-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กันยายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลระโนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพอันดับต้นของสังคมไทยและทั่วโลกคือ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมทางสุขภาพ การบาดเจ็บจากอุบัติภัย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สอดคล้องกับผลการสำรวจภาวะสุขภาพคนไทยครั้งที่ 5 (2557) พบว่าปัญหาสุขภาพคนไทยที่เกิดจากพฤติกรรม สภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาวะอ้วน โรคเบาหวาน โรความดันโลหิตสูง โรคไตวาย โรคระบบหัวใจและหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นภาระของสังคมไทยและระบบบริการสุขภาพมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นในการแก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว ถือเป็นปัญหาสุขภาพที่ทุกคนตั้งแต่ระดับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐทุกภาคส่วน ควรร่วมกันดำเนินการเย่างจริงจังในการส่งเสริมการป้องกันโรค สร้างสิ่งแวดล้อมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเฝ้าระวังควบคุมโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง   กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญและมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังด้วยการส่งเสริม/รณรงค์ให้ประชาชนไทยทุกคนเข้าถึงและได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพให้ครอบคลุมมากที่สุดตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป เพื่อคันหาภาวะเสี่ยง หรือ ค้นหาโรคในระยะเร่ิมต้นรวมทั้งมีการให้ความรู้ และส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงทุกราย เพื่อลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว เพราะในปี 2559 พบว่า ร้อยละ 43.1 ของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นเบาหวานมาก่อน เพราะไม่เคยเข้ารับการตรวจคัดกรอง ทำให้เข้าถึงการรักษาที่ค่อนข้างล่าช้า และเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นแล้ว จึงเข้าสู่ระบบการรักษาซึ่งจะส่งผลให้เพิ่มภาระในการดูแลรักษามากขึ้นด้วย   จากสถานการณ์การตรวจคัดกรองและอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังของเขตพื้นที่เทศบาลตำบลระโนดปี พ.ศ. 2560 พบอัตราการเกิดโรคเบาหวา่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง (อัมพฤกษ์อัมพาต) รายใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรือ่ย ๆ   ดังนั้นทางคณะกรรมการสุขภาพภาคประชาชน ได้ให้ความสำคัญและเล็งเห็นปัญหาสุขภาพดังกล่าวในระยะยาว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังของเขตพื้นที่เทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา อย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เข้าใจ มีทักษะนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัว ให้ปลอดภัยจากโรคเรื้อรังได้ รวมทั้งสามารถค้นหาผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาระตามมาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ
  2. 2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง มีความรู้/ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและได้รับการติดตาม/เฝ้าระวังภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
  3. 3. ลดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงานด้านสุขภาพ/แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ/เขียนโครงการขออนุมัติ/ประชาสัมพันธ์โครงการและสำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  2. ตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังและให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลโรคเรื้อรัง
  3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกทักษะการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงสูงและเสี่ยงเป็นโรคตามหลัก 3อ 2ส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 320
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ
  2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง มีความรู้/ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและได้รับการติดตาม/เฝ้าระวังภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80%
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้/ทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเพิ่มขึ้น
  4. ลดอัตราการผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง มีความรู้/ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและได้รับการติดตาม/เฝ้าระวังภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง มีความรู้/ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและได้รับการติดตาม/เฝ้าระวังภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80%
0.00

 

3 3. ลดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1. อ้ตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 10%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 320
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ (2) 2. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง มีความรู้/ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและได้รับการติดตาม/เฝ้าระวังภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง (3) 3. ลดอัตราผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงคณะทำงานด้านสุขภาพ/แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ/เขียนโครงการขออนุมัติ/ประชาสัมพันธ์โครงการและสำรวจกลุ่มเป้าหมาย (2) ตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังและให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลโรคเรื้อรัง (3) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกทักษะการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงสูงและเสี่ยงเป็นโรคตามหลัก 3อ 2ส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5226-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวณริณพิศพัฒน์ บุตรขันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด