กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สหธาตุ


“ โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 ”

บ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลสหธาตุ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการ โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3

ที่อยู่ บ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลสหธาตุ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลสหธาตุ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สหธาตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 ตำบลสหธาตุ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สหธาตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า คนไทยบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เท่ากับ 13.59 ลิตรต่อคนต่อปี จัดเป็นอันดับ 5 ของโลกและมีการใช้เงินประมาณ 2 แสนล้านบาทเพื่อซื้อแอลกอฮอล์มาดื่มกิน ซึ่งพฤติกรรมการดื่มดังกล่าวส่งผลกระทบก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ทั้งในด้านสุขภาพ อุบัติเหตุจราจร คดีอาญา และด้านเศรษฐกิจครอบครัวและชุมชน และจะเห็นได้ว่าในงานฌาปนกิจศพแต่ละงานที่ผ่านมา จะขาดเสียมิได้คือการนำเหล้าหรือของมึนเมาอย่างอื่น มาเลี้ยงแขกผู้มาร่วมงาน ซึ่งเกือบจะเป็นประเพณีไปแล้ว เพิ่มภาระความสูญเสียเงินทองกับญาติของผู้เสียชีวิต ที่สิ้นเปลืองเงินทองในการจัดงานศพตามประเพณีแล้ว ยังมาสิ้นเปลืองนำเงินมาซื้อเหล้าหรือของมึนเมาอย่างอื่นมาจัดเลี้ยงแขกผู้มาร่วมงานอีกด้วย

นับเป็นความจำเป็นอย่างเร่งด่วนสำหรับของสังคมไทยในปัจจุบัน ในการผลักดันโครงการและกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการรณรงค์ ลด ละ เลิก ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะปัญหาที่เกิดจากเครื่องดื่มประเภทนี้มีความรุนแรงและส่งผลกระทบในทุกมิติของสังคม โดยมีเหล้าเป็นต้นเหตุแห่งปัญหา สร้างความทุกข์รุกรานความอยู่ดีมีสุขของผู้คนตลอดมา

บ้านธาตุกลาง หมู่ที่ 3 ต.สหธาตุ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี ประชาชนในชุมชนยังมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในงานประเพณีต่างๆ พบว่าทุกกิจรรม เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน งานบวช งานกฐิน หรือผ้าป่า รวมถึงงานศพ ล้วนแล้วแต่มีการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทั้งสิ้น ปัญหาที่พบมากในปัจจุบัน คือ เมื่อมีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ จะเกิดการทะเลาะวิวาททุกครั้งไปไม่เว้นแม้กระทั่งงานบุญหรืองานศพ โดยเฉพาะงานศพเป็นงานที่พบว่ามีปริมาณการใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากในลำดับต้นๆเนื่องจากงานศพเป็นงานที่เกิดขึ้นโดยที่เจ้าภาพไม่ได้ตั้งและไม่อยากให้เกิดขึ้นกับครอบครัว เมื่อเกิดขึ้นแล้วจำเป็นที่จะต้องจัดการตามประเพณี ซึ่งเจ้าภาพจะต้องจัดหาอาหารพร้อมเครื่องดื่ม เหล้า เบียร์ มาเลี้ยงแขกที่มาช่วยงาน บางคนเก็บศพไว้นานต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก พองานเสร็จบางครอบครัวต้องติดหนี้ ยิ่งถ้าผู้เสียชีวิตเป็นผู้นำครอบครัวด้วยแล้ว ผู้อยู่เบื้องหลังต้องลำบากเดือดร้อน นำไปสู่ความยากจนและปัญหาสังคม ปัญหาและผลกระทบจากากรบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และแสวงหาช่องทางต่างๆ ตลอดจนกลวิธีในการแก้ไขปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานศพปลอดเหล้า
  2. ประชาคมการจัดเป็นหมู่บ้านปลอดเหล้าในงานศพ
  3. รวมรวมข้อมูล ติดตาม ประเมินผล
  4. ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กิจกรรมภายในวัดปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์งานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.มาตรการส่งเสริมกิจกรรมปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : รูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (กิจกรรม/นวัตกรรม)
1.00 2.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(มาตรการ)
0.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงานศพปลอดเหล้า (2) ประชาคมการจัดเป็นหมู่บ้านปลอดเหล้าในงานศพ (3) รวมรวมข้อมูล ติดตาม ประเมินผล (4) ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการงานศพปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมู่ที่ 3 จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คณะกรรมการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด