โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ ”
ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายตอเละ สารีบู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ
ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2480-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2562 ถึง 22 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2562 - 22 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันมีผู้พิการเป็นจำนวนมากที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผู้พิการเป็นบุคคลที่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา และการเรียนรู้หรือความบกพร่องอันใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆและมีความจำเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตในประจำวันได้ สุขภาพช่องปากสำหรับคนพิการซึ่งต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ผู้พิการมีข้อจำกัดทางด้านร่างกาย เช่นกล้ามเนื้อแขน มือ ด้านระบบประสาท และกล้ามเนื้อทำให้การควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ดี เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ พลัดตก หกล้ม ฟันกระแทก และความผิดปกติทางพันธุกรรม บางโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพในช่องปาก เช่น เนื้อฟัน อ่อนยุ่ย ลิ้นโต เพดานโหว่ ฟันเก ฟันขาดหาย ฟันขึ้นผิดที่ ฟันขึ้นช้า ฟันรูปร่างผิดปกติ ขากรรไกรเติบโตไม่ได้สัดส่วนจึงต้องให้การอบรมให้ความรู้ นานาสาระสุขภาพช่องปากและสาธิตการแปรงฟัน และฝึกปฏิบัติการแปรงฟันศูนย์กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลมะรือโบออก ซึ่งเป็นศูนย์บริการที่มีหน้าที่ให้ความส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตในประจำวันได้จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากของคนพิการ ซึ่งบางครั้งคนเรามักจะให้ความสำคัญสุขภาพทางกายมากกว่าช่องปากไม่มีเวลาเอาใจใส่หรือมองข้ามสิ่งธรรมดาในชีวิตประจำวันซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพได้มาก ผู้พิการจึงควรดูแลและเอาใจใส่สุขภาพช่องปากเพื่อที่จะได้มีความมั่นใจในการใช้ชีวิตได้มากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน
- 2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
- 3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ
- 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
- กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
240
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรงซ้อน
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการเกิดความตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ
วันที่ 21 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
มีการประชุมหารือในการจัดกิจกรรมในส่วนต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการชี้แจงกิจกรรมต่างๆ และมีการแบ่งงานในส่วนต่างๆที่ได้รับมอบหมายนั้นๆ
35
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
วันที่ 21 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ร้อยละ 80
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
3.ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการสามารถสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปาก
240
0
3. กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
วันที่ 22 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ร้อยละ 80
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
3.ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการสามารถสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปาก
240
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1. พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ร้อยละ 80
240.00
2
2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : 2. ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
240.00
3
3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
ตัวชี้วัด : 3.ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการสามารถสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปาก
240.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
240
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
240
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน (2) 2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก (3) 3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ (2) 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ (3) กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2480-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายตอเละ สารีบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ ”
ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายตอเละ สารีบู
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2480-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2562 ถึง 22 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2480-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2562 - 22 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันมีผู้พิการเป็นจำนวนมากที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผู้พิการเป็นบุคคลที่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา และการเรียนรู้หรือความบกพร่องอันใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆและมีความจำเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใดเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตในประจำวันได้ สุขภาพช่องปากสำหรับคนพิการซึ่งต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ผู้พิการมีข้อจำกัดทางด้านร่างกาย เช่นกล้ามเนื้อแขน มือ ด้านระบบประสาท และกล้ามเนื้อทำให้การควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ดี เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ พลัดตก หกล้ม ฟันกระแทก และความผิดปกติทางพันธุกรรม บางโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพในช่องปาก เช่น เนื้อฟัน อ่อนยุ่ย ลิ้นโต เพดานโหว่ ฟันเก ฟันขาดหาย ฟันขึ้นผิดที่ ฟันขึ้นช้า ฟันรูปร่างผิดปกติ ขากรรไกรเติบโตไม่ได้สัดส่วนจึงต้องให้การอบรมให้ความรู้ นานาสาระสุขภาพช่องปากและสาธิตการแปรงฟัน และฝึกปฏิบัติการแปรงฟันศูนย์กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลมะรือโบออก ซึ่งเป็นศูนย์บริการที่มีหน้าที่ให้ความส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตในประจำวันได้จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากของคนพิการ ซึ่งบางครั้งคนเรามักจะให้ความสำคัญสุขภาพทางกายมากกว่าช่องปากไม่มีเวลาเอาใจใส่หรือมองข้ามสิ่งธรรมดาในชีวิตประจำวันซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพได้มาก ผู้พิการจึงควรดูแลและเอาใจใส่สุขภาพช่องปากเพื่อที่จะได้มีความมั่นใจในการใช้ชีวิตได้มากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน
- 2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก
- 3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ
- 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ
- กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 240 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรงซ้อน
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
- ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการเกิดความตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปาก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำมีการประชุมหารือในการจัดกิจกรรมในส่วนต่างๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการชี้แจงกิจกรรมต่างๆ และมีการแบ่งงานในส่วนต่างๆที่ได้รับมอบหมายนั้นๆ
|
35 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
240 | 0 |
3. กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
240 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : 1. พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ร้อยละ 80 |
240.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : 2. ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก |
240.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ ตัวชี้วัด : 3.ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการสามารถสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปาก |
240.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 240 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 240 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน (2) 2.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก (3) 3.เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้พิการ โดยสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ (2) 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่พบในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปาก ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากสร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้พิการและผู้ดูแลคนพิการ (3) กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากสำหรับผู้พิการ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2480-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายตอเละ สารีบู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......