กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายับดุลเล๊าะ มิงดอมิ๊

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2480-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังจากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่า เยาวชนมีแนวโน้มอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี(Human Immunodeficiency Virus)HIV คือเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคเอดส์ โดยจะทำลายระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ร่างกายติดเชื้อและเจ็บป่วยได้ง่าย เชื้อ HIV จะติดต่อผ่านการมีเพศสัมพันธ์ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ ไม่ปลอดภัยผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย สาเหตุหนึ่งมาจากเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตอนอายุยังน้อยและไม่มีการป้องกัน ปัญหานี้นับเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญและควรได้รับการแก้ไขโดยการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้แก่กลุ่มเด็ก เยาวชนและครอบครัวเพื่อให้สามารถป้องกันการติดเชื้อ ได้อย่างมีคุณภาพ มีความยั่งยืนประการหนึ่ง คือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็ก เยาวชนโดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยง และหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรม เสี่ยงได้เยาวชน ประชาชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคมด้วย สภาเด็กและเยาวชนจึงเล็งเห็นความสำคัญที่จะดำเนินการจัดโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์จึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมะรือโบออก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV มีทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคส์ และ HIV
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  3. เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV
  2. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเอง และพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  3. สามารถสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ

วันที่ 7 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน อสม. สมาชิก อบต. เพื่อของงบประมาณกองทุน สปสช. ตำบลมะรือโบออก
  2. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  4. ดำเนินตามโครงการฯ
  5. สรุปผล และประเมินผลโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการชี้แจ้งวิธีการดำเนินของโครงการฯ และมีการเสนอข้อชี้แนะในการจัดกิจกรรมของโครงการ

 

15 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV

วันที่ 13 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน อสม. สมาชิก อบต. เพื่อของงบประมาณกองทุน สปสช. ตำบลมะรือโบออก
  2. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
  4. ดำเนินตามโครงการฯ
  5. สรุปผล และประเมินผลโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV ร้อยละ 80
  2. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  3. มีความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคส์ และ HIV
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV ร้อยละ 80
70.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเองและมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
70.00

 

3 เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์
ตัวชี้วัด : มีความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคส์ และ HIV (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเอดส์ตลอดจนมีการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (3) เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อการป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงโครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์ และ HIV

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2480-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายับดุลเล๊าะ มิงดอมิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด