กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางมูนีเราะ ประมูลทรัพย์

ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2515-1-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กันยายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2515-1-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กันยายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้เราดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข ในการส่งเสริมสุขภาพจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของมิติสุขภาพ เข้าใจหลักและวิธีปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง การที่ประชาชนจะหันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองนั้นจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับตนเองแล้วเท่านั้น ซึ่งการปฏิบัติตัวแบบนี้เป็นการรักษาตนเองที่ปลายเหตุไม่มีทางที่จะใช้ชีวิตโดยปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆได้ การจัดการกับปัญหาด้านสุขภาพที่ต้นเหตุของปัญหาต่างหากที่จะสามารถรักษาร่างกายของมนุษย์ให้ดำรงชีวิตอยู่แบบปราศจากโรคภัยสาเหตุที่ทำให้ประชาชนเกิดปัญหาทางสุขภาพมากที่สุด คือการดำรงชีวิตในปัจจุบันที่ไม่รู้จักความเป็นอยู่ที่พอเพียง ทำให้ร่างการเกิดความเครียด วิตกกังวล การบริโภคอาหารที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ รวมไปถึงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอและปัญหาต่าง ๆที่ตามมาอีกมากมาย การหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งพาธรรมชาติตามแนวคิดทฤษฏีการแพทย์แผนไทยที่มุ่งดูแลสุขภาพแบบองค์รวมโดยมองมิติทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสิ่งแวดล้อม          สิ่งเหล่านี้ช่วยเพิ่มความสมดุลให้กับชีวิตมนุษย์ ดังนั้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยอาศัยการนำเอาองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร การออกกำลังกายด้วยกายบริหารฤๅษีดัดตน การนวด อบ และประคบด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด การทำสมาธิบำบัด การฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ เป็นต้น เมื่อมีการนำองค์ความรู้เหล่านี้มาประยุกต์ใช้ร่วมกับการรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันแล้วน่าจะเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของประชาชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบาโงกือเต๊ะ มีผู้สูงอายุ ทั้งหมด จำนวน 311 คน มีเพศชายจำนวน 141 คน มีเพหญิง จำนวน 170 คน ผู้สูงอายุมักมีผลกระทบต่อสุขภาพ เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังที่พบบ่อยได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด        ซึ่งปัจจุบันส่วนใหญ่ พบมีผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรังซึ่งเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น แพทย์ทางเลือกเป็นอีกทางหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้

ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบาโงกือเต๊ะ จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สมุนไพรให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ได้รับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ซึ่งเป็นแพทย์ทางเลือกวิธีหนึ่งในรักษาความเจ็บป่วยให้กับประชาชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้ 2.เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ 3.เพื่อเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชนได้ในเบื้องต้น รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้
2.มีการอนุรักษ์และการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป
3.เกิดการทำงานร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมุนไพร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้ 2.เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ 3.เพื่อเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)        1.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้        2.เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ        3.เพื่อเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้อยู่คู่กับชุมชนตลอดไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2515-1-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมูนีเราะ ประมูลทรัพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด