โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ พันธ์ฤทธิ์ดำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากโรคและต้องรับการรักษาตลอดชีวิต ถ้าควบคุมโรคไม่ดีอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังกับอวัยวะเกือบทุกส่วนของร่างกายได้ โดยอุบัติการณ์ของโรคมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเบาหวาน มีอัตราความชุกของโรคเบาหวานร้อยละ 4 – 7 ในประชากรอายุ 30 – 36 ปี และสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตามอายุประชากรจนถึงร้อยละ 10 – 15 ในประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ, 2538) พบว่า มีอัตราตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก 7.2 เป็น 7.4 และ 29.0 ต่อประชากรหนึ่งแสนคนในปี พ.ศ. 2537, 2538 และ 2541 ตามลำดับ (จันทร์เพ็ญ, 2543) ในสถานบริการเครือข่ายโรงพยาบาลพัทลุงพบโรคเป็นสาเหตุเจ็บป่วยและการตาย 5 อันดับแรก นอกจากนี้การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานทำให้วิถีชีวิตผู้ป่วยเปลี่ยนไปโดยทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา เสียรายได้ เป็นภาระของครอบครัว และสังคม รวมทั้งมีคุณภาพชีวิตลดลง โรคเบาหวานมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญหลายประการด้วยกัน ได้แก่ อายุ ปัจจัยทางพันธุกรรม ภาวะอ้วน และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมการดูแลตนเองเป็นการควบคุมภาวะของโรคจึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกและภายในได้แก่ ด้านความรู้ ทัศนคติ ประสบการณ์ ปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง ครอบครัว และชุมชน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองให้เหมาะสม การรับรู้ถึงอันตรายเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนและหาวิธีปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
จากการศึกษาข้อมูล ปี2558-2560 พบว่า จังหวัดพัทลุงมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานมีจำนวน 28.2 และ33.3 ต่อพันประชากร ตามลำดับ และ2559 ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.63 ซึ่งเป็นสถิตที่สูงสุดของอำเภอเมืองพัทลุง ซึ่งสูงเป็นอันดับสองของจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด
ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงขึ้น เพื่อผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับบริการสุขภาพแบบองค์รวมและต่อเนื่อง ปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรังและเป็นการขยายบริการสาธารณสุขพื้นฐานสู่ประชาชน ส่งเสริมการบริการ เชิงรุก และเพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
- เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
- การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้เรื่องโรค ทักษะในการดูแลตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้จากการร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตในปัจจุบัน
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
วันที่ 26 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
600
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้าและตรวจคัดกรองวัณโรค
80.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเอง
80.00
3
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาลได้
50.00
4
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำชุมชนมีส่วนร่วมกิจกรรม
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (4) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ (2) การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอาภรณ์ พันธ์ฤทธิ์ดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ พันธ์ฤทธิ์ดำ
กันยายน 2562
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานจากโรคและต้องรับการรักษาตลอดชีวิต ถ้าควบคุมโรคไม่ดีอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังกับอวัยวะเกือบทุกส่วนของร่างกายได้ โดยอุบัติการณ์ของโรคมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเบาหวาน มีอัตราความชุกของโรคเบาหวานร้อยละ 4 – 7 ในประชากรอายุ 30 – 36 ปี และสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตามอายุประชากรจนถึงร้อยละ 10 – 15 ในประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ, 2538) พบว่า มีอัตราตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก 7.2 เป็น 7.4 และ 29.0 ต่อประชากรหนึ่งแสนคนในปี พ.ศ. 2537, 2538 และ 2541 ตามลำดับ (จันทร์เพ็ญ, 2543) ในสถานบริการเครือข่ายโรงพยาบาลพัทลุงพบโรคเป็นสาเหตุเจ็บป่วยและการตาย 5 อันดับแรก นอกจากนี้การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานทำให้วิถีชีวิตผู้ป่วยเปลี่ยนไปโดยทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา เสียรายได้ เป็นภาระของครอบครัว และสังคม รวมทั้งมีคุณภาพชีวิตลดลง โรคเบาหวานมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญหลายประการด้วยกัน ได้แก่ อายุ ปัจจัยทางพันธุกรรม ภาวะอ้วน และพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมการดูแลตนเองเป็นการควบคุมภาวะของโรคจึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอกและภายในได้แก่ ด้านความรู้ ทัศนคติ ประสบการณ์ ปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง ครอบครัว และชุมชน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองให้เหมาะสม การรับรู้ถึงอันตรายเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนและหาวิธีปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
จากการศึกษาข้อมูล ปี2558-2560 พบว่า จังหวัดพัทลุงมีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานมีจำนวน 28.2 และ33.3 ต่อพันประชากร ตามลำดับ และ2559 ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.63 ซึ่งเป็นสถิตที่สูงสุดของอำเภอเมืองพัทลุง ซึ่งสูงเป็นอันดับสองของจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด
ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงขึ้น เพื่อผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานได้รับบริการสุขภาพแบบองค์รวมและต่อเนื่อง ปรับพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรังและเป็นการขยายบริการสาธารณสุขพื้นฐานสู่ประชาชน ส่งเสริมการบริการ เชิงรุก และเพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
- เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
- การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้เรื่องโรค ทักษะในการดูแลตนเอง สามารถนำความรู้ที่ได้จากการร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตในปัจจุบัน
2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน |
||
วันที่ 26 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำการตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
|
600 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้าและตรวจคัดกรองวัณโรค |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเอง |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาลได้ |
50.00 |
|
||
4 | เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำชุมชนมีส่วนร่วมกิจกรรม |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า และตรวจคัดกรองวัณโรคโดยการเอ็กซเรย์ปอด (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (4) เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการควบคุมภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ (2) การตรวจคัดกรองและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานแบบบูรณาการ ศูนย์แพทย์ชุมชนคูหาสวรรค์ ปี 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-01-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอาภรณ์ พันธ์ฤทธิ์ดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......