กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางกรองแก้ว ทองเรืองสุกใส

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 349,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่มีการระบาดในอำเภอเมืองตรังเกือบทุกปี โรคนี้มียุงลายบ้านเป็นพาหะหลัก และมียุงลายสวนเป็นพาหะรอง ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดตรัง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยมีภาชนะขังน้ำทั้งที่เกิดจากพฤติกรรมของคน และแหล่งเพาะพันธ์ุตามธรรมชาติอยู่โดยรอบจึงมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคนี้เป็นอย่างยิ่ง กลุ่มประเทศอาเซียนจึงได้เสนอในวันที่ 15 มิถุนายนของทุกปีเป็นวัน ASEAN DENGUE DAY เพื่อให้ทุกประเทศในภูมิภาคนี้ร่วมใจกัน จัดกิจกรรมรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรังกำหนดให้มีมาตรการลดและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยวิธี 5ป 1ข ใน 6ร. ได้แก่ โรงเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม โรงงาน และโรงธรรม สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองตรัง มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงติดอันดับ 1 - 3 ของจังหวัดตรังเกือบทุกปี ตำบลทับเที่ยงมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2558 - 2560 อัตราป่วย 118.55 , 131.11 และ 40.76 ต่อแสนประชากรตามลำดับ ซึ่งสองปีแรกมีผู้ป่วยสูงกว่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดคือ ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร โรงพยาบาลตรังได้แจ้งข้อมูลผู้ป่วยและสงสัยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกแก่เทศบาลเพื่อการควบคุมโรคในตำบลทับเที่ยง ปี พ.ศ. 2558 - 2560 จำนวน 213 , 331 และ 175 รายตามลำดับ ปี พ.ศ. 2561 เป็นอีกปีที่มีการระบาดใหญ่ของโรคไข้เลือดออกเนื่องจากมีผู้ป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐานมาตั้งแต่เดือนมีนาคม - เดือนกรกฎาคม วันที่ 1 มกราคม - 31 กรกฎาคม 2561 ตำบลทับเที่ยงมีผู้ป่วยและสงสัยป่ายด้วยโรคไข้เลือดออกที่แจ้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบพื้นที่ดำเนินการควบคุมโรคทั้งสิ้น 150 คน ผู้ป่วยกระจายอยู่ในชุมชน 23 ชุมชน จากชุมชน 27 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 85.18 ของชุมชนในตำบลทับเที่ยง ประชากรกลุ่มอายุที่มีการป่วยสูงสุดคือ กลุ่มอายุ 15 - 24 ปี ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงาน รองลงมาคือ 10-14 ปี
งานป้องกันควบคุมโรค โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกระบาดในพื้นที่ ด้วยหลักการ การป้องกันยุงลายเกิด คือการลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน การป้องกันยุงลายกัด เพื่อป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกจากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่นและการทำลายยุงลายที่มีเชื้อ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ลดลง
  2. มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การป้องกันและควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หลังจากเดินรณรงค์ในชุมชนแล้ว ชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ลดลง 2.ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยหลัก 5ป 1ข 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการป้องกันการรับและแพร่กระจายเชื้อโรคฯในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การป้องกันและควบคุมโรค

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรค 1.เดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.การควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ดำเนินกิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชุมชน มีกิจกรรมคือการสำรวจลูกน้ำยุงลาย การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย การแจกเอกสารแผ่นปลิวแนะนำป้องกันโรคไข้เลือดออกร่วมกับการใช้รถประชาสัมพันธ์ของเทศบาลนครตรังและโรงพยาบาลตรัง โดยเปิดแผ่นกระจายเสียงเผยแพร่ข้อมูลการป้องกันโรคไข้เลือดออก
-ดำเนินกิจกรรมควบคุมโรคที่บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง จำนวน 14 ครั้ง มีการควบคุมโรคที่บ้านผุ้ป่วยหรือสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกโดยการสำรวจลูกน้ำยุงลาย การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย แจกเอกสารแผ่นปลิวแนะนำป้องกันโรค สนับสนุนโลชั้นทากันยุงและสเปรย์ฉีดยุงให้กับบ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านผู้ป่วยดดยรอบ ดำเนินการที่บ้านผุ้ป่วยโรคไข้เลือกออกและสงสัยรวม 150 ราย เป็นผลให้ชุมชนมีค่าร้อยละของภาชนะที่พบลูกน้พลุงลาย(ค่าCI) ลดลงและชุมชนพบผู้ป่วยดรคไข้เลือดออกไม่เกิน 2 generation

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ลดลง
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI)
0.00

 

2 มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนชุมชนที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 2 generation
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ลดลง (2) มีการป้องกันการรับและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การป้องกันและควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรองแก้ว ทองเรืองสุกใส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด