กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิตฐา อายุก

ชื่อโครงการ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี



บทคัดย่อ

โครงการ " การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาสาธารณสุขที่มุ่งเน้นให้คนไทยมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพดี อยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และมีความมั่นใจในบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ถื่อเป็นเป้าหมายหลักในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกระทรวงสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ต้องอาศัยความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขในชุมชนเป็นหลัก ประกอบกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุบัน ให้ความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์ การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ความเสมอภาค และความยุติธรรมทางสังคม เน้นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรื่องของตนเอง ชุมชน สังคมได้ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้นับเป็นเรื่องที่สำคัญที่ส่งผลต่อการปฏิบัิติงานด้านสาธารณสุขของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขนับเป็นคนในระดับท้องถิ่นที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชน จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขต้องเข้ามามีบทบาทสำคัญในฐานะผู้นำการพัฒนาสาธารณสุขในพื้นที่ของตนเองอย่างจริงจังมากขึ้นโดยทำหน้าที่เป็นแกนนำในการบริหารจัดการงานสาธารณสุขชุมชนที่อยู่และให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนบ้านในเขตที่รับผิดชอบให้สามารถดูแลตนเองและครอบครัว ให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น ชมรม อสม.เทศบาลนครตรังตระหนักถึงความสำคัญของอสม.ทุกคนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ อสม.ได้พัฒนาศักยภาพ ฟื้นฟูความรู้และทราบวิธีการออกกำลังกายที่ถูกวิธี และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้อสม.ทุกคนมีความรักความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีตลอดไป และมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างในการเป็นแกนนำทางด้านการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.ในพื้นที่ 3 ศูนย์บริการสาธารณสุขมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกาย
  2. เพื่อให้เกิดความรักและสามัคคีในเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน
  3. เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทักษะการออกกำลังกายใน อสม.และสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง, ครอบครัวและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยการเต้นตะลุงเปลี่ยนคู่ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ถูกวิธีตามขั้นตอน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกาย 2. สามารถสร้างกระแสให้ประชาชนได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 3.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรักและสามัคคีในเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยการเต้นตะลุงเปลี่ยนคู่ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ถูกวิธีตามขั้นตอน

วันที่ 20 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมและปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยการเต้นตะลุง จำนวน 1 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการอบรมให้การออกกำลังกายด้วยการเต้นตะลุงเปลี่ยนคู่ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ในวันที่ 20 ตุลาคม 2561 ณ สนากีฬากลาง เทศบาลนครตรัง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 206 คน พบว่า ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกายและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความสามัคคีซึ่งกันและกัน

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม.ในพื้นที่ 3 ศูนย์บริการสาธารณสุขมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกาย
0.00

 

2 เพื่อให้เกิดความรักและสามัคคีในเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรักและความสามัคคีซึ่งกันและกัน
0.00

 

3 เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทักษะการออกกำลังกายใน อสม.และสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง, ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง, ครอบครัวและชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.ในพื้นที่ 3 ศูนย์บริการสาธารณสุขมีความรู้ที่ถูกวิธีในการออกกำลังกาย (2) เพื่อให้เกิดความรักและสามัคคีในเครือข่ายด้านสุขภาพในชุมชน (3) เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทักษะการออกกำลังกายใน อสม.และสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง, ครอบครัวและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยการเต้นตะลุงเปลี่ยนคู่ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ถูกวิธีตามขั้นตอน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยรักและสามัคคี จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวขนิตฐา อายุก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด