กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L6896-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพที่ดี ช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างการ ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้ทุกช่วงวัย ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์ ซึ่งปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกำจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่มและคงสภาพที่ดีไว้นั่นคือ ให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ซึงดีกว่าการรักษาเพราะกระทำในสภาพปกติ ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานในการปวดฟัน ไม่ต้องยุ่งยาก ไม่เสียเวลาในการรักษา ไม่ต้องเสียเงินค่ารักษา และที่สำคัญคือไม่ต้องสูญเสียฟัน และการเฝ้าระวังโดยการดูแลเป็นระยะอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้พบปัญหาเริ่มแรกและสามารถให้การป้องกันปัญหาที่เพิ่มขึ้นได้ มาตรการทางวิชาการที่จะช่วยป้องกันการก่อตัวของเชื้อโรค และยังอาจหยุดหรือชะลอการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกได้ ได้แก่ การแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ การทำความสะอาดช่องปากสม่ำเสมอ และการลดบริโภคน้ำตาล การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฟันผุในชุมชนและการสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัย ซึ่งจะช่วยลดอัตราการเกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพื่อลดปัญหาการเกิดโรคในช่องปากตั้งแต่เนิ่นๆ จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เพื่อมุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย โดยเฉพาะพฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภค เพื่อช่วยกันเสริมสร้างสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำ โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 เนื่องด้วยเห็นว่าการแก้ไขปัญหาควรส่งเสริมป้องกันมากกว่าการรักษา โดยเริ่มจากการให้ความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของฟันแท้ ฟันน้ำนม สาเหตุของการเกิดโรคในช่องปาก รู้จักวิธีการอก้ไข ป้องกันและการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง และของคนในครอบครัวได้ทุกช่วงวัยของชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในช่องปากและเพื่อคุณภาพชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยม มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี
  4. ผู้ป่วยที่ได้รับยาในคลินิคโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน ได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน
  5. ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเริ้อรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกหลังคลอด
  2. บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง
  3. บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการเยี่ยมบ้านมีความรู้/มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของทารกหลังคลอดได้ ระดับคะแนนมากคิดเป็นร้อยละ 85 2.มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก คิดเป็นร้อยละ 100 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี 4.ผู้ป่วยที่ได้รับยาในคลีนิคโรคเรื่อรังใน 11 ชุมชน ได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน 5.ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกหลังคลอด

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่มารดาและทารกหลังคลอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดซื้อชุดสาธิตทำความสะอาดในช่องปาก แก่มารดาและทารกหลังคลอด พร้อมสาธิตการใช้
มอบชุดสาธิตแก่มารดาและทารกหลังคลอดและมอบคู่มือความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก จำนวน 60 ชุด

 

60 0

2. บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดซื้อชุดสาธิตทำความสะอาดในช่องปาก ตรวจสุขภาพในช่องปากโดยทันตาภิบาล พร้อมสาธิตการใช้ มอบชุดสาธิตและแผ่นพับให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มพิ่งพิง จำนวน 112 คน

 

112 0

3. บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน

วันที่ 15 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการจัดซื้อชุดสาธิตการสอนเพื่อการทำความสะอาดช่องปากแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน  ตรวจสุขภาพในช่องปากโดยทันตาภิบาล พร้อมสาธิตการใช้  มอบชุดสาธิตและแผ่นพับให้ความรู้แก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง จำนวน 368 คน

 

368 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยม มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายที่ได้รับการเยี่ยมมีความรู้ มีความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้มากขึ้น ร้อยละ 85
0.00

 

2 เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของมารดา-ทารกหลังคลอดได้รับการเยี่ยมโดยทันตภิบาล
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี
0.00

 

4 ผู้ป่วยที่ได้รับยาในคลินิคโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน ได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน รับทราบถึงสภาวะในช่องปากของตนเอง
0.00

 

5 ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเริ้อรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดที่ได้รับการเยี่ยม มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้มารดา-ทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี (4) ผู้ป่วยที่ได้รับยาในคลินิคโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน ได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน (5) ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเริ้อรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกหลังคลอด (2) บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง (3) บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L6896-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด