โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมาหามะ ดาราแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3001-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3001-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประกอบด้วยบุคคลในท้องถิ่นจากทุกภาคส่วนตามที่กฎหมายบัญญัติไว้เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การดำเนินงานของกองทุน ตอบสนองความต้องการของชุมชม สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนได้อย่างแท้จริง
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประกอบด้วยการจ่ายเงินเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ รวมทั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งกองทุนฯ เป็นการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ ที่ให้อำนาจไว้ในการอนุมัติเสนอข้อคิดเห็น ปรึกษา หารือ ระดมความคิด หาแนวทางแก้ไขปัญหา หาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนให้ดีขึ้น การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ รวมถึงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์วัสดุสำนักงานที่จำเป็นสำหรับใช้บริหารจัดการเอกสารต่างๆของกองทุน ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารตำบลเกาะจันจึงได้กำหนดจัดทำโครงการจัดการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- 2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- 3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2560
หลักการเหตุผล
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประกอบด้วยบุคคลในท้องถิ่นจากทุกภาคส่วนตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การดำเนินงานของกองทุน ตอบสนองความต้องการของชุมชม สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนได้อย่างแท้จริง
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประกอบด้วยการจ่ายเงินเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ รวมทั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งกองทุนฯ เป็นการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ ที่ให้อำนาจไว้ในการอนุมัติเสนอข้อคิดเห็น ปรึกษา หารือ ระดมความคิด หาแนวทางแก้ไขปัญหา หาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนให้ดีขึ้น การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ รวมถึงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์วัสดุสำนักงานที่จำเป็นสำหรับใช้บริหารจัดการเอกสารต่างๆของกองทุน ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารตำบลเกาะจัน จึงได้กำหนดจัดทำโครงการจัดการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน ขึ้น
1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2. เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
4. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
5. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2. วิธีดำเนินการ
1. ขั้นตอนวางแผนงาน
- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน
- กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
- จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
- จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
- จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
- จัดประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
3. ระยะเวลาดำเนินการ
เดือนตุลาคม 2559 – เดือนกันยายน 2560
4. สถานที่ดำเนินการ
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
5. งบประมาณ
ไม่ได้ใช้งบประมาณ
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : โครงการที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติ ได้ดำเนินการและสรุปแผนการดำเนินการตามกำหนด
2
2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : มีการรายงานสถานะการเงินทุกครั้งที่มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน
3
3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนดำเนินงานภายใต้ระเบียบของการดำเนินงานกองทุน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
30
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) 2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (3) 3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3001-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมาหามะ ดาราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมาหามะ ดาราแม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3001-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3001-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประกอบด้วยบุคคลในท้องถิ่นจากทุกภาคส่วนตามที่กฎหมายบัญญัติไว้เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การดำเนินงานของกองทุน ตอบสนองความต้องการของชุมชม สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนได้อย่างแท้จริง
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประกอบด้วยการจ่ายเงินเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ รวมทั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งกองทุนฯ เป็นการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ ที่ให้อำนาจไว้ในการอนุมัติเสนอข้อคิดเห็น ปรึกษา หารือ ระดมความคิด หาแนวทางแก้ไขปัญหา หาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนให้ดีขึ้น การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ รวมถึงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์วัสดุสำนักงานที่จำเป็นสำหรับใช้บริหารจัดการเอกสารต่างๆของกองทุน ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารตำบลเกาะจันจึงได้กำหนดจัดทำโครงการจัดการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- 2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- 3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน ประจำปีงบประมาณ 2560
หลักการเหตุผล
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประกอบด้วยบุคคลในท้องถิ่นจากทุกภาคส่วนตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การดำเนินงานของกองทุน ตอบสนองความต้องการของชุมชม สามารถแก้ปัญหาของชุมชนได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนได้อย่างแท้จริง
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประกอบด้วยการจ่ายเงินเบี้ยประชุมของคณะกรรมการ รวมทั้งอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งกองทุนฯ เป็นการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ระเบียบ ที่ให้อำนาจไว้ในการอนุมัติเสนอข้อคิดเห็น ปรึกษา หารือ ระดมความคิด หาแนวทางแก้ไขปัญหา หาแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชนให้ดีขึ้น การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ รวมถึงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์วัสดุสำนักงานที่จำเป็นสำหรับใช้บริหารจัดการเอกสารต่างๆของกองทุน ดังนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารตำบลเกาะจัน จึงได้กำหนดจัดทำโครงการจัดการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน ขึ้น
1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2. เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
4. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
5. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2. วิธีดำเนินการ
1. ขั้นตอนวางแผนงาน
- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน
- กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
- จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
- จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
- จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
- จัดประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
3. ระยะเวลาดำเนินการ
เดือนตุลาคม 2559 – เดือนกันยายน 2560
4. สถานที่ดำเนินการ
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
5. งบประมาณ
ไม่ได้ใช้งบประมาณ
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ตัวชี้วัด : โครงการที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติ ได้ดำเนินการและสรุปแผนการดำเนินการตามกำหนด |
|
|||
2 | 2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ตัวชี้วัด : มีการรายงานสถานะการเงินทุกครั้งที่มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน |
|
|||
3 | 3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน ตัวชี้วัด : กองทุนดำเนินงานภายใต้ระเบียบของการดำเนินงานกองทุน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 30 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) 2.เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (3) 3.เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3001-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมาหามะ ดาราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......