โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยและปฐมศึกษาตอนต้น
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยและปฐมศึกษาตอนต้น |
รหัสโครงการ | 60-L6961-2-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนเทศบาล 3 |
วันที่อนุมัติ | 11 มกราคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 62,720.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โรงเรียนเทศบาล 3 |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.008,101.949place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1032 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วย โรงเรียนเทศบาล 3 (วิมุกตายนวิทยา) มีความประสงค์ จะจัดโครงการ ส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัย และ ประถมศึกษาตอนต้น ในปีงบประมาณ 2560 โดยขอรับการสนับสนุน งบประมาณจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เป็นเงิน 62720 บาท
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่1 - ชั้นประถมปีที่ 3 รู้วิธีการดูแลสุขภาพในช่อ่งปากที่ถูกวิธี
|
||
2 | 2.นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีสุขภาพในช่องปากที่ดี
|
||
3 | 3.นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถดูแลสุขภาพในช่องปากได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เสนอโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณในการดำเนินโครงการ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ 3.ประชุมคณะกรรมการ เพื่อชี้แจงวิธีการดำเนินการ ตามโครงการ 4.จัดหา และ เชิญวิทยากร จากโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จำนวน 5 คน มาให้ความรู้แก่นักเรียน 5.จัดหา วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม ตามโครงการ 6.จัดทำป้ายนิทรรศการ เกี่ยวกับ การส่งเสริมสุขภาพในช่องปากของเด็ก 7.ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ โดยจัดเวลาในการอบรม ให้ความรู้ ชั้นละ 2 ชั่วโมง ตามจำนวนนักเรียน ดังนี้ อ.1 จำนวน 178 คน อ.2 จำนวน 180 คน ป.1 จำนวน 251 คน ป.2 จำนวน 236 คน ป.3 จำนวน 187 คน รูปแบบการจัดกิจกรรม ชั่วโมงที่ 1 ให้ความรู้ตามวัยของนักเรียนแต่ละชั้น ชั่วโมงที่ 2 วิทยากรสาธิตวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปาก และ การแปรงฟันที่ถูกวิธี แล้วให้นักเรียนปฏิบัติตาม 8.ดำเนินกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารเที่ยง 9.ประเมินผลโครงการ โดยตรวจสุขภาพในช่องปาก ของนักเรียน หลังดำเนินโครงการ 10.สรุปผลการดำเนินโครงการ และ รายงานผลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
1.นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รู้วิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากที่ถูกวิธี 2.นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีสุขภาพในช่องปากที่ดี 3.นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สามารถดูแลสุขภาพในช่องปากได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2560 15:50 น.