กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5294-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5294-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,648.80 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนได้เนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้ดำเนินงานหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคล่องตัวและมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยดำเนินกิจกรรม 4 ประเภทคือ กิจกรรมการบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ กิจกรรมสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานบริการสาธารณสุข กิจกรรมสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนในท้องถิ่นและกิจกรรมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการโดยดำเนินกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม คือ กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เขต ๑๒ สงขลา กองทุนฯจึงต้องจัดกิจกรรมการประชุม จัดกิจกรรมการทำแผนสุขภาพตำบลนาทอนเพื่อรับฟังปัญหาด้านสุขภาพที่ตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชนและการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯซึ่งเป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือของภาครัฐและภาคประชาชนที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯและเรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นคณะกรรมการจึงควรพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการบริหารกองทุนอยู่เสมอ ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนจึงจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนฯต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
  5. ข้อที่ 5 คณะกรรมการกองทุนฯให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  6. ข้อที่ 6.ประชาชนรู้และเข้าใจในหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ
  7. ข้อที่ 7. คณะอนุกรรมการกองทุนฯจัดทำโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุนฯ
  8. ข้อที่ 8. เพื่อให้คณะอนุกรรมการประสานกองทุนกับหมู่บ้านและประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ
  9. ข้อที่ 9. เพื่อให้คณะอนุกรรมการLTC เสนอ care planและรายงานการบริการจัดดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
  10. ข้อที่ 10. เพื่อใช้จ่ายในการเข้าร่วมอบรมต่างๆ ตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1.จัดประชุม คณะกรรมการกองทุนฯ /คณะอนุกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการLTC /การอบรมตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนดกิจกรรมย่อยที่1.1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. กิจกรรมย่อยที่1.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  3. กิจกรรมย่อยที่1.3 จัดประชุมคณะอนุกรรมการLTC
  4. กิจกรรมย่อยที่1.4 การอบรมตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนดเช่น ค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยง ของผู้เข้าร่วมอบรมและ ค่าตอบแทน ค่าเดินทางของคณะทำงาน( Coaching)สนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
  5. กิจกรรมที่2 อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อบต. นาทอน
  6. กิจกรรมที่ 3. จัดทำแผนสุขภาพตำบลนาทอน
  7. กิจกรรมที่ 4 ค่าถ่ายเอกสารประกอบการประชุม/ค่าวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการกองทุนฯได้พิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2.คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาออกระเบียบการบริหารกองทุน
3.คณะกรรมการกองทุนฯควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
4.คณะกรรมการกองทุนฯกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
5.คณะกรรมการกองทุนฯให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
6.ประชาชนรู้และเข้าใจในหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ
7.คณะอนุกรรมการกองทุนฯทำโครงการ
8.คณะอนุกรรมการประสานกองทุนกับหมู่บ้านและประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ
9.คณะอนุกรรมการLTC ได้เสนอ care planและรายงานการบริการจัดดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
10.ได้ดำเนินการอบรมตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่2 อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อบต. นาทอน

วันที่ 31 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1 ขั้นตอนวางแผนงาน
- ร่วมกันประชุมวางแผน ร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรรมการ คณะอนุกรรมการ ที่เข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพ
- กำหนดวันดำเนินการจำนวน 1ครั้ง/ปี
- จัดเวที/กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2 ขั้นตอนการดำเนินการ
- ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
- จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน
- จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
- จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม และประสานงานสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3 ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด
- จัดอบรมให้ความรู้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน จำนวน 28 คน
- ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพ
งบประมาณ
1. ค่าเช่าเหมายานพาหนะพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คันๆละ 2 วันๆละ 3,800 บาท เป็นเงิน 15,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 28 คนๆละ 4 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,360 บาท
3. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม จำนวน28 คนๆละ 4 มื้อๆละ 150 บาท เป็นเงิน 16,800 บาท
4. ค่าเช่าที่พัก 15ห้องๆละ 800บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
5. ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
6. ค่าของที่ระลึก จำนวน 1 ชิ้น เป็นเงิน 1,000 บาท
7.ค่าเช่าสถานที่ 5,000 บาท
รวมเงิน 55,760.00 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในกฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
  2. การอนุมัติและจัดทำแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. สามารถนำนวัตกรรมชุมชนมาปรับใช้ในการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  4. ทราบผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน

 

28 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : โครงการได้รับพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ตัวชี้วัด : มีระเบียบที่มีประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
80.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : การควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
80.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
80.00

 

5 ข้อที่ 5 คณะกรรมการกองทุนฯให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
80.00

 

6 ข้อที่ 6.ประชาชนรู้และเข้าใจในหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ประชาชนรู้และเข้าใจในหลักเกณฑ์ของกองทุนฯมากขึ้น
80.00

 

7 ข้อที่ 7. คณะอนุกรรมการกองทุนฯจัดทำโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : โครงการได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนฯ
80.00

 

8 ข้อที่ 8. เพื่อให้คณะอนุกรรมการประสานกองทุนกับหมู่บ้านและประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านและประชาชนได้รับการประสานงานเพื่อดำเนินงานกองทุนฯ
80.00

 

9 ข้อที่ 9. เพื่อให้คณะอนุกรรมการLTC เสนอ care planและรายงานการบริการจัดดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต่อคณะกรรมการกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : มี care plan เพื่อบริการจัดดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
80.00

 

10 ข้อที่ 10. เพื่อใช้จ่ายในการเข้าร่วมอบรมต่างๆ ตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนด
ตัวชี้วัด : ได้เข้าร่วมการอบรมต่างๆ ตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนด
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน  (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (5) ข้อที่ 5 คณะกรรมการกองทุนฯให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ  (6) ข้อที่ 6.ประชาชนรู้และเข้าใจในหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนฯ (7) ข้อที่ 7. คณะอนุกรรมการกองทุนฯจัดทำโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุนฯ (8) ข้อที่ 8. เพื่อให้คณะอนุกรรมการประสานกองทุนกับหมู่บ้านและประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานกองทุนฯ (9) ข้อที่ 9. เพื่อให้คณะอนุกรรมการLTC เสนอ care planและรายงานการบริการจัดดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ต่อคณะกรรมการกองทุนฯ (10) ข้อที่ 10. เพื่อใช้จ่ายในการเข้าร่วมอบรมต่างๆ ตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1.จัดประชุม คณะกรรมการกองทุนฯ /คณะอนุกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการLTC /การอบรมตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนดกิจกรรมย่อยที่1.1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (2) กิจกรรมย่อยที่1.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (3) กิจกรรมย่อยที่1.3 จัดประชุมคณะอนุกรรมการLTC (4) กิจกรรมย่อยที่1.4 การอบรมตามที่กองทุนฯและสปสช. กำหนดเช่น ค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าเบี้ยเลี้ยง ของผู้เข้าร่วมอบรมและ  ค่าตอบแทน ค่าเดินทางของคณะทำงาน( Coaching)สนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ (5) กิจกรรมที่2 อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อบต.  นาทอน (6) กิจกรรมที่ 3. จัดทำแผนสุขภาพตำบลนาทอน (7) กิจกรรมที่ 4 ค่าถ่ายเอกสารประกอบการประชุม/ค่าวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5294-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด