ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 ”
ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรังแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นสถานการณ์ไข้เลือดออกในจังหวัดตรัง จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 25 กรกฎาคม 2561 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 295 ราย อัตราป่วย 45.97 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย อยู่ใน อำเภอเมือง และอำเภอรัษฎา อำเภอละ 1 ราย อัตราป่วย - ตาย ร้อยละ 0.68
อำเภอรัษฎา มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นลำดับ 6 ของจังหวัดตรัง อัตราป่วยเท่ากับ 41.07 มีผู้ป่วยตาย 1 ราย อัตราตายเท่ากับ 8.33 พบผู้ป่วยเลือดออกทั้งหมด 79 ราย พบในเดือนกรกฎาคม จำนวน 21 ราย
ตำบลหนองบัว มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตั้งแต่เดือนมกราคม - กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จำนวน 20 ราย พบผู้ป่วยในเดือนกรกฎาคม จำนวน 12 ราย
เพื่อให้การดำเนินการตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูฝน และลดอัตราการเสียชีวิต ตามหนังสือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ที่ ตง 0032.003.1/ว.3085 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2561 ขอความร่วมมือในการดำเนินการยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน พ.ศ. 2561
รพ.สต.หนองบัว ตระหนักถึงความสำคัญของประเด็นปัญหาดังกล่าว และเร่งรัดดำเนินยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน พ.ศ. 2561 จึงได้จัดทำโครงการชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลืเดออกในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
วันที่ 20 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันควบคุมโรค
- จัดประชุมทีม SRRT ตำบลหนองบัวและนำเสนอเหตุการณ์ในชุมชน
- ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ในเวทีประชุมหมู่บ้าน
- สำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน (HI) และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดย อสม.และแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว
- สำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและวัด (CI) และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดย อสม.และแกนนำนักเรียน
- ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกตามครัวเรือนและหน่วยงาน
- ดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาด รวมทั้งป้องกันการระบาดในโรงเรียน วัด และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ควบคุมป้องกันโรคละแวกบ้านผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก และครัวเรือนในระยะ 100 เมตร จากบ้านผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก โดยมีกิจกรรม ดังนี้
- ครัวเรือนฉีดสเปรย์ไล่ยุงภายในบ้านและทาโลชั่นกันยุงป้องกันยุงกัด
- ทีม SRRT ตำบลพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ 2 ครั้ง (ห่างกัน 1 อาทิตย์)
- ครัวเรือนกำจัดแหล่งเพาะพันุ์ลูกน้ำยุงลาย สัปดาด์ละ 1 ครั้ง
- ทีม SRRT ตำบลเฝ้าระวังผู้ป่วยไข้สูงเพิ่มเติมในพื้นที่
- สรุป/ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เดือนสิงหาคม 61 เท่ากับ 22.81 ต่อแสนประชากร เดือนกันยายน 61 อัตราเท่ากับ 0 ต่อแสนประชากร (รายงานจาก สสจ.ตรัง
- ผู้ป่วยสงสัยไข้เลือกออก เดือนสิงหาคม 61 อัตราป่วย 250.86 ต่อแสนประชากรร เดือน กันยายน 61 อัตราป่วย เท่ากับ 68.42 ต่อแสนประชากร (รายงานจาก รพ.สต.หนองบัว
- ไม่เกิดโรคไข้เลือดออกระบาดเกิน Generation ที่ 2
150
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
ตัวชี้วัด : 1. หมู่บ้านจำนวน 9 หมู่บ้าน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่า 10 (HI น้อยกว่า 10)
2. โรงเรียน/ศพด./วัด/สำนักสงฆ์ ปลอดลูกน้ำยุงลาย
3. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 ”
ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรังแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นสถานการณ์ไข้เลือดออกในจังหวัดตรัง จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 25 กรกฎาคม 2561 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 295 ราย อัตราป่วย 45.97 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย อยู่ใน อำเภอเมือง และอำเภอรัษฎา อำเภอละ 1 ราย อัตราป่วย - ตาย ร้อยละ 0.68 อำเภอรัษฎา มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นลำดับ 6 ของจังหวัดตรัง อัตราป่วยเท่ากับ 41.07 มีผู้ป่วยตาย 1 ราย อัตราตายเท่ากับ 8.33 พบผู้ป่วยเลือดออกทั้งหมด 79 ราย พบในเดือนกรกฎาคม จำนวน 21 ราย ตำบลหนองบัว มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตั้งแต่เดือนมกราคม - กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จำนวน 20 ราย พบผู้ป่วยในเดือนกรกฎาคม จำนวน 12 ราย เพื่อให้การดำเนินการตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูฝน และลดอัตราการเสียชีวิต ตามหนังสือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ที่ ตง 0032.003.1/ว.3085 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2561 ขอความร่วมมือในการดำเนินการยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน พ.ศ. 2561 รพ.สต.หนองบัว ตระหนักถึงความสำคัญของประเด็นปัญหาดังกล่าว และเร่งรัดดำเนินยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน พ.ศ. 2561 จึงได้จัดทำโครงการชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลืเดออกในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
150 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร) ตัวชี้วัด : 1. หมู่บ้านจำนวน 9 หมู่บ้าน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่า 10 (HI น้อยกว่า 10) 2. โรงเรียน/ศพด./วัด/สำนักสงฆ์ ปลอดลูกน้ำยุงลาย 3. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ร่วมเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชาวหนองบัวรวมพลังยกระดับมาตรการเตรียมรับการระบาดโรคไข้เลือดออกในฤดูฝน ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......