กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเกษร ภาพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L6002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L6002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แกนนำด้านสาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นตัวแทนของคนในคุ้มของหมู่บ้าน โดย 1 คนรับผิดชอบ 10-20 ครัวเรือน ซึ่งจะต้องมีความรู้ความเข้าใจรวมถึงมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในชุมชนได้ ดังนั้นแกนนำด้านสาธารณสุขจำเป็นต้องมีการพัฒนาทักษะการจัดการระบบสุขภาพในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งที่จะทำให้ชุมชนได้เรียนรู้สุขภาพของคนในชุมชน เริ่มต้นจากการสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยการปรับทัศนคติและบทบาท สร้างจิตสำนึก ศรัทธา ความรัก ความสามัคคี เสริมสร้างและพัฒนาผู้นำให้มีศักยภาพ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพด้วยตนเองและเป็นที่ยอมรับของสังคม ด้วยการสร้างความเป็นผู้นำที่มีผลงานสูง สร้างมาตรฐานแนวปฏิบัติและให้ความสำคัญต่อกระบวนการเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็งของโครงสร้างที่เอื้อต่อการจัดการระบบสุขภาพภาคประชาชน ผ่านตามกระบวนการเรียนรู้ต่างๆอย่างเป็นระบบ ตามโครงสร้างของชุมชน ทำใหเเกิดเวทีประชาคมสุขภาพของชุมชนและศูนย์การเรียนรู้ การสังเคราะห์บทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้สุขภาพชุมชนจากประสบการณ์จริง สร้างกิจกรรมให้เกิดความเคยชิน ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปในทางที่ถูกต้อง เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชน เพื่อชุมชนของตนเอง พื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล มีหมู่บ้านทั้งหมด 10 หมู่บ้าน และมีแกนนำด้านสาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 156 คน มีครัวเรือนที่รับผิดชอบจำนวน 2,679 หลังคาเรือน (เฉลี่ย อสม. 1 คน ต่อ 17.17 หลังคาเรือน) แกนนำด้านสาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)เป็นกลุ่มคนที่เข้าถึงบริบทของชุมชนและจัดการสุขภาพของชุมชนตลอดมา มีภารกิจหลายด้าน ประกอบด้วยงานโภชนาการ งานสุขศึกษา งานจัดหาน้ำสะอาด สุขาภิบาลและการควบคุมโรคประจำถิ่น สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การรักษาพยาบาลอย่างง่าย การจัดหายาที่จำเป็นในชุมชน งานอนามัยแม่และเด็ก งานสุขภาพจิต การดูแลสุขภาพฟัน งานอนามัยสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค การป้องกันอุบัติเหตุ การป้องกันและแก้ไขเอดส์ รวมถึงงานป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อและไม่ติดต่อเรื้อรังของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้ดำเนินการโดยมีกิจกรรมการการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไป เพื่อแยกกลุ่มตามกลุ่มปิงปอง 7 สี ซึ่งประกอบด้วยสีขาว (กลุ่มปกติ) สีเขียวยอดตองอ่อน (กลุ่มเสี่ยง) สีเขียวเข้ม (กลุ่มป่วยระดับ 0) สีเหลือง (กลุ่มป่วยระดับ 1) สีส้ม (กลุ่มป่วยระดับ 2) สีแดง (กลุ่มป่วยระดับ 3) และสีแดง (กลุ่มป่วยรุนแรง) และนำกลุ่มสีเขียวยอดตองอ่อน (กลุ่มเสี่ยง) มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้หลัก 3อ 2ส เพื่อกลับไปเป็นกลุ่มสีขาว (กลุ่มปกติ) จากการลงสำรวจข้อมูลหน้างานและสอบถามจากชมรม อสม. ของแต่ละสถานบริการพบว่าในแต่ละหมู่บ้าน มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถใช้เครื่องวัดความดันในการคัดกรองได้เป็นอย่างดี แต่สำหรับการเจาะเลือดบริเวณปลายนิ้วเพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน สามารถเจาะได้แค่ 3-5 คน ซึ่งไม่เพียงพอต่อการให้บริการในชุมชน เพราะขาดทักษะและความมั่นใจในการเจาะคัดกรองและในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านยังขาดความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดในชุมชน ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปาล์มพัฒนา เห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของแกนนำด้านสาธารณสุขในพื้นที่และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านสาธารณสุข อีกทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสาธารณสุขนำไปสู่การจัดการสุขภาพที่เกิดในชุมชนของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของแกนนำด้านสาธารณสุขในพื้นที่
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลียนเรียนรู้การดำเนินงานด้านสาธารณสุข
  3. เพื่อสร้างความสามัคคีในแกนนำด้านสาธารณสุขแต่ละสถานบริการ
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสาธารณสุข นำไปสู่การจัดการสุขภาพที่เกิดในชุมชนของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของแกนนำด้านสาธารณสุขในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลียนเรียนรู้การดำเนินงานด้านสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อสร้างความสามัคคีในแกนนำด้านสาธารณสุขแต่ละสถานบริการ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสาธารณสุข นำไปสู่การจัดการสุขภาพที่เกิดในชุมชนของตนเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของแกนนำด้านสาธารณสุขในพื้นที่ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แลกเปลียนเรียนรู้การดำเนินงานด้านสาธารณสุข (3) เพื่อสร้างความสามัคคีในแกนนำด้านสาธารณสุขแต่ละสถานบริการ (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสาธารณสุข นำไปสู่การจัดการสุขภาพที่เกิดในชุมชนของตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิสูง จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ L6002

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเกษร ภาพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด