กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านทุ่งยาว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3351-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และสร้างสมดุลการพัฒนา ในทุกมิติ แต่การประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าว และสร้างความมั่นใจว่าการพัฒนาจะเป็นไปในแนวทางที่ยั่งยืนและสร้างความสุขให้กับคนไทย ซึ่งตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)ได้ให้ความสำคัญกับการบริโภคที่ไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยกำหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพคนว่า“ลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้๕อันดับแรกคือโรคหัวใจความดันโลหิตสูงเบาหวานมะเร็งและหลอดเลือดในสมองเพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลิตภาพแรงงานและลดรายจ่ายด้านสาธารณสุข”เนื่องจากมีปัจจัยสาเหตุครอบคลุมทั้งเรื่องของพฤติกรรมบริโภคปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานก็เป็นปัญหาสุขภาพที่ประชาชนไทยมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมเช่นการบริโภคอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ขาดการออกกำลังกายโดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ตัวเองว่ามีความผิดปกติหรือเป็นโรคแล้วไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่เหมาะสมจะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้วซึ่งอาจเกิดเสียชีวิตฉับพลันหรืออาจเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้เช่นโรคหัวใจโรคหลอดเลือดสมองตีบและแตกโรคไตวายและตาบอด มีข้อมูลยืนยันว่าโรคเหล่านี้เป็นภาระมากขึ้นเรื่อยๆทั้งสุขภาพเศรษฐกิจและสังคมในปี๒๕๕๐มีการวัดความดันโลหิตประชาชนไทยอายุ๔๐ ปีขึ้นไปจำนวน๒๐.๗ล้านคนพบว่ามีความดันโลหิตผิดปกติ๒.๔ล้านคน (๑๑ % )ซึ่งจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจร้อยละ๒๕และโรคหลอดเลือดสมองตีบและแตกร้อยละ๔๐โดยที่ประชาชนจำนวนมากไม่รู้ตัวว่าตนเองมีความผิดปกติจะทราบก็ต่อเมื่อเกิดผลแทรกซ้อนขึ้นแล้วซึ่งอาจเสียชีวิตฉับพลันหรือเกิดความพิการที่ไม่อาจแก้ไขได้ โรคเบาหวานก็เช่นเดียวกันเนื่องจากภาวะทุพโภชนาการโดยเฉพาะในแม่ที่ตั้งครรภ์เมื่อหลายสิบปีก่อนและพฤติกรรมการบริโภครวมถึงการขาดออกกำลังกายทำให้คนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นในปีพ.ศ.๒๕๕๑มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน๓๓๘,๕๕๑รายเสียชีวิต๗,๗๒๕รายคาดว่าทั่วประเทศจะมีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานประมาณ๓ ล้านคนและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆผู้ป่วยร้อยละ๕๐และไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสมจึงมีความเสี่ยงเกิดปัญหาแทรกซ้อน ปัญหาดังกล่าวข้างต้นเป็นปัญหาของสถานีอนามัยบ้านทุ่งยาวดังนั้นจึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและคามดันโลหิตสูงเพื่อตอบสนองการแก้ปัญหาดังกล่าวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและตรวจคัดกรองซ้ำทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและมีสุขภาพดีอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว  ตำบลโคกชะงาย  อำเภอเมืองพัทลุง  จังหวัดพัทลุง  จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง  ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและตรวจคัดกรองซ้ำทุกคนให้กลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและคัดกรองซ้ำแล้วยังอยู่ในเกณฑ์ต้องส่งตัวรักษาต่อได้รับการส่งตัวรักษาต่อทุกคนและลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงไม่เกิน ร้อยละ ๗  โรคเบาหวานไม่เกินร้อยร้อยละ ๓ 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและตรวจคัดกรองซ้ำทุกคน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและตรวจคัดกรองซ้ำทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3351-01-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.บ้านทุ่งยาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด