กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ วิ่งเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย แซ่จอง




ชื่อโครงการ วิ่งเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-2-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"วิ่งเพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วิ่งเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " วิ่งเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพของไทยที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพเนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษาจึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกกาลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชนประกอบด้วย การออกกำลังกายอาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชนและอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคลครอบครัวและชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชนโดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่นการวิ่งเพื่อสุขภาพเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เยาวชน ประชาชนหรือผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย ตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ 2557 โดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ 2557 ประเภทที่ 2 เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ โดยชมรมวิ่งหาดใหญ่ได้จัดทำโครงการวิ่งเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกวิธี และหันมาออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
  2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีการวิ่งออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ “วิ่งเพื่อสุขภาพ” โดยติดไวนิล และประชาสัมพันธ์โดยใช้วิทยุกระจายเสียงรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
  2. ดำเนินการตามโครงการวิ่งเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ประชาชนมีการออกกำลังกายมากขึ้นและต่อเนื่อง -ประชาชนสามารถลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่าง ๆ มีสุขภาพแข็งแรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์โครงการ “วิ่งเพื่อสุขภาพ” โดยติดไวนิล และประชาสัมพันธ์โดยใช้วิทยุกระจายเสียงรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม

วันที่ 19 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

550 0

2. ดำเนินการตามโครงการวิ่งเพื่อสุขภาพ

วันที่ 13 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ดำเนินการตามโครงการวิ่งเพื่อสุขภาพ 3.1 ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีจุดคัดกรองสุขภาพ เพื่อตรวจความพร้อมของร่างกายผู้วิ่งแต่ละคน
    3.2 ให้ความรู้เรื่องวิ่งเพื่อสุขภาพอย่างถูกวิธี ก่อนปล่อยตัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อซักซ้อม ป้องกันการบาดเจ็บ ระหว่างการวิ่ง 3.3 เริ่มปล่อยตัวนักวิ่ง ณ จุดสตาร์ท และวิ่งตามเส้นทางที่กำหนด 4 กิโลเมตร โดยมีทีมพยาบาลดูแลตลอดเส้นทาง 3.4 หลังจากเข้าเส้นชัย มีวิทยากรแนะนำการยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกายเพื่อลดอาการบาดเจ็บ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่มีสุขภาพร่างกายมี่แข็งแรง ห่างไกลโรค คนในพื้นที่รู้วิ่งเพื่อสุขภาพอย่างถูกวิธี ก่อนปล่อยตัวผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อซักซ้อม ป้องกันการบาดเจ็บ ระหว่างการวิ่ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
0.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีการวิ่งออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความสนใจหันมาวิ่งออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกกำลังกายที่ถูกวิธี (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีการวิ่งออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ “วิ่งเพื่อสุขภาพ” โดยติดไวนิล และประชาสัมพันธ์โดยใช้วิทยุกระจายเสียงรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม (2) ดำเนินการตามโครงการวิ่งเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


วิ่งเพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย แซ่จอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด