กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง

ชื่อโครงการ โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 15/61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 เมษายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 15/61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 เมษายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีการดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ จึงทำให้มีพฤติกรรมต่างๆเปลี่ยนแปลงไป นำไปสู่การเป็นโรคร้ายต่างๆได้ง่าย เช่น โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทยในระดับต้นๆในจำนวนโรคไม่ติดต่อ พบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้ก่อให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะที่สำคัญของร่างกายได้แก่ ระบบหลอดเลือด สมอง หัวใจ อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างเฉียบพลัน เกิดความพิการ หรือสูญเสียอวัยวะ ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในระยะยาว ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย ครอบครัวและสังคม ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลกรงปินัง ก็เช่นเดียวกัน ปัจจุบันยังมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่มาโดยตลอดและได้มีความพยายามในการดำเนินการแก้ปัญหามาและคาดหวังว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่มีความยั่งยืน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด ปัญหาโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังคงเป็นโรคเรื้อรังของคนในชุมชน และเป็นโรคที่เรื้อรังกับชุมชนมาช้านาน ทั้งนี้ก็เนื่องมากจากโรคดังกล่าวเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งพูดได้ว่ามีความยากลำบากอย่างยิ่งในการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคน ปัจจุบันนี้การแก้ปัญหาโดยใช้กลวิธีหรือกระบวนการต่างๆทุกรูปแบบทั้งในเรื่องของการค้นหากลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และนำกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวเข้าสู่กระบวนการของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในรายบุคคลก็จะเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเข้าสู่กระบวนการตามคลินิก DPACโดยปรับใช้วิถีที่สอดคล้องกับชุมชน และเป็นไปตามครรลองของศาสนาจึงได้น้อมนำรูปแบบของการส่งเสริมสุขภาพที่มีต้นแบบมาจากท่านศาสดามูฮัมมัด (ซ.ล.) มาใช้บูรณาการในการดูแลสุขภาพเพื่อควบคุมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ซึ่งได้ผลเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง ประชาชนเกิดการตื่นตัว มีความสนใจ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้ผลทั้งสุขภาพดีและได้บุญอีกด้วยเนื่องจากเป็นแบบอย่างที่ปฏิบัติโดยศาสดามูฮัมมัด (ซ.ล.) และในปี 2561 นี้ได้มุ่งเน้นการดำเนินงานเชิงคุณภาพที่จะมุ่งเจาะไปทั้งชุมชนตัวอย่างที่จะขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง ให้สามารถดำเนินการได้อย่างครบกระบวนการ มีคุณภาพ และสามารถเป็นต้นแบบที่ดีในการขับเคลื่อนสู่ชุมชนอื่นๆอีกต่อไป
โรงพยาบาลกรงปินัง เห็นควรที่จะดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สานต่อกิจกรรมที่ดียิ่งนี้ต่อไป แก้ปัญหาแบบตรงประเด็นตามรายะเอียดปลีกย่อยของปัญหาใหญ่ และต่อยอดด้วยกิจกรรมอื่นๆที่เป็นนวัตกรรมที่ดี นวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และมุ่งเน้นการสร้างชุมชนต้นแบบด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรังจึงจัดให้มีโครงการร่วมใจลดเสี่ยงลดโรค หมู่ 7 ต.กรงปินัง อ.กรงปินัง จ.ยะลา ขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การแก้ปัญหาโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีความต่อเนื่อง และเป็นการแก้ปัญหาที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเอง ในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าวิทยากร 1 คน x 300 บาท x 6 ชม. x 1 วัน
  2. ค่าอาหารกลางวัน 85 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 85 คน x 20 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน
  4. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน
  5. ค่าเงินรางวัลบุคคลต้นแบบ รางวัลที่ 1 2,400 รางวัลที่ 2 1,800 รางวัลที่ 3 1,000 รางวัลชมเชย 500 x 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้าน อ.อาหาร อ.ออกกำลังกาย
  2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับพฤติกรรมด้านอาหารและออกกำลังกายได้ดีขึ้นจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10   3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีระดับความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 40 และกลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ร้อยละ 40   4.ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเอง ในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับมาก
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละ  85  ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด  มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร  การออกกกำลังกาย  และการจัดการด้านอารมณ์  ได้ด้วยตนเอง ในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวิทยากร 1 คน x 300 บาท x 6 ชม. x 1 วัน (2) ค่าอาหารกลางวัน 85 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 85 คน x 20 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน (4) ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 60 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน (5) ค่าเงินรางวัลบุคคลต้นแบบ รางวัลที่ 1  2,400  รางวัลที่ 2 1,800 รางวัลที่ 3  1,000 รางวัลชมเชย 500 x 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมลดเสี่ยงลดโรค หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 15/61

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด