โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มชมรมผู้สููงอายุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6961-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันคนไทยโดยเฉลี่ยมีอายุยืนยาวขึ้น เหมือนกันกับประชากรในประเทศอื่นทั่วโลก ทำให้ประเทศไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" โดยมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ภาวะผู้สูงอายุเป็นกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ และ สังคมที่มนุษย์มิอาจเลี่ยงได้ และ ความชราเป็นสภาวะการมีอายุสูงขึ้น ซึงอาจจะมีความอ่อนแอของร่างกาย จิตใจ ตลอดจนมีความเจ็บป่วย หรือ ความพิการร่วมด้วย ดังนั้น การรักษาสุขภาพ
เพื่อให้สมบูรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ นั้น จึุงเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังต้องให้ความสำคัญในการดูแล ทางด้านสุขภาพจิตควบคู่กันไปด้วย จากการศึกษาเกี่ยวกับ สุขภาพทางจิตของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุที่มี
สุขภาพจิตใจดี เป็นผู้ที่มีอารมณ์แจ่มใส มองโลกในแง่ดี เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดความสงบร่มเย็นแก่ครอบครัว ชุมชน และ สังคม การที่ผู้สูงอายุจะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุขนั้น ต้องรักษาระดับกิจกรรมทางสังคมของตนไว้ให้มาก
ซึ่งกิจกรรมที่ทำจะช่วยทำให้หายเหงา เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้ง ร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ และปรับเปลี่ยนบทบาทของตนในสังคม สามารถดำรงตนได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ รู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคม และ ชุมชนของตน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำ และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิตของตน
ตามมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้วันที่ 13 เมษายนของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ วันที่ 14 เมษายนของทุกปี เป็นวันครอบครัว และกำหนดให้มีการจัดกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับภารกิจ ของหน่วยงาน การจัดงาน วันผู้สูงอายุ
จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สร้างความตระหนักในคุณค่าของผู้สูงอายุ และเกิดการรวมกลุ่ม เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันในด้าน สุขภาพร่างกาย และ จิตใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม
- 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ และใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และเป็นต้นแบบให้กลุ่มวัยอื่นๆได้
2.ผู้สูงอายุได้ร่วมทำกิจกรรมสังคมอย่างต่อเนื่อง
3.ผู้สูงอายุมีความภูมิใจในคุณค่าของตนเอง และอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามของไทย เพื่ออนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การจัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพความดัน เบาหวาน ตรวจฟัน คัดกรองภาวะเครียด ส่งเสริมการออกกำลังกาย
มีผู้สุงอายุร่วมงาน 450 คน
จัดที่โรงพยาบาลสุไหงโกลก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
450
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มชมรมผู้สููงอายุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มชมรมผู้สููงอายุ
เมษายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L6961-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันคนไทยโดยเฉลี่ยมีอายุยืนยาวขึ้น เหมือนกันกับประชากรในประเทศอื่นทั่วโลก ทำให้ประเทศไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" โดยมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ภาวะผู้สูงอายุเป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ และ สังคมที่มนุษย์มิอาจเลี่ยงได้ และ ความชราเป็นสภาวะการมีอายุสูงขึ้น ซึงอาจจะมีความอ่อนแอของร่างกาย จิตใจ ตลอดจนมีความเจ็บป่วย หรือ ความพิการร่วมด้วย ดังนั้น การรักษาสุขภาพ เพื่อให้สมบูรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ นั้น จึุงเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังต้องให้ความสำคัญในการดูแล ทางด้านสุขภาพจิตควบคู่กันไปด้วย จากการศึกษาเกี่ยวกับ สุขภาพทางจิตของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุที่มี สุขภาพจิตใจดี เป็นผู้ที่มีอารมณ์แจ่มใส มองโลกในแง่ดี เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดความสงบร่มเย็นแก่ครอบครัว ชุมชน และ สังคม การที่ผู้สูงอายุจะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุขนั้น ต้องรักษาระดับกิจกรรมทางสังคมของตนไว้ให้มาก ซึ่งกิจกรรมที่ทำจะช่วยทำให้หายเหงา เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้ง ร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ และปรับเปลี่ยนบทบาทของตนในสังคม สามารถดำรงตนได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพ รู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า มีประโยชน์ต่อสังคม และ ชุมชนของตน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำ และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิตของตน ตามมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้วันที่ 13 เมษายนของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ วันที่ 14 เมษายนของทุกปี เป็นวันครอบครัว และกำหนดให้มีการจัดกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับภารกิจ ของหน่วยงาน การจัดงาน วันผู้สูงอายุ จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สร้างความตระหนักในคุณค่าของผู้สูงอายุ และเกิดการรวมกลุ่ม เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันในด้าน สุขภาพร่างกาย และ จิตใจ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม
- 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 450 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ และใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และเป็นต้นแบบให้กลุ่มวัยอื่นๆได้ 2.ผู้สูงอายุได้ร่วมทำกิจกรรมสังคมอย่างต่อเนื่อง 3.ผู้สูงอายุมีความภูมิใจในคุณค่าของตนเอง และอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามของไทย เพื่ออนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การจัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพความดัน เบาหวาน ตรวจฟัน คัดกรองภาวะเครียด ส่งเสริมการออกกำลังกาย
มีผู้สุงอายุร่วมงาน 450 คน
จัดที่โรงพยาบาลสุไหงโกลก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 450 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 450 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพให้ผู้สูงอายุ เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพของตนเองตามความเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีการทำกิจกรรม พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในด้านสุขภาพ และจิตใจ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (วันผูู้สูงอายุ) ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L6961-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มชมรมผู้สููงอายุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......