โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารมณ์ นวลปาน เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7250-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 405,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะที่มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ เกิดขึ้นมากกว่าปกติ เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆ ของชีวิต ความต้องการสารอาหารและพลังงานระหว่างตั้งครรภ์จึงมีมากกว่าระยะอื่นๆ ถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพสมบูรณ์และให้กำเนิดทารกสมบูรณ์ด้วย ในทางตรงกันข้ามถ้ามารดาได้รับอาหารที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอมักทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง เด็กคลอดก่อนกำหนดหรือแท้ง โลหิตเป็นพิษขณะตั้งครรภ์ เด็กเกิดใหม่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อย ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กต่อไปในอนาคต
เทศบาลนครสงขลาเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้ดำเนินการส่งเสริมภาวะโภชนาการในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีฐานะยากจน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเข้าร่วมโครงการ 141 คน มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.96 ทารกที่คลอดทั้งหมดมีจำนวน ๑09 คน มีทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม มีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.๑ ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก(เสริมนม-ไข่) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ขึ้น เพื่อให้ส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อันจะส่งผลให้ทารกแรกคลอดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีน้ำหนักไม่ต่ำกว่าเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล
- ๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด
- ๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- ๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์
- ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
170
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์
๒. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
๓. ทารกแรกคลอดได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
๔. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตามเกณฑ์และมีสุขภาพอนามัยที่ดี พัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญ
ในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓.๑ ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการดำเนินงาน/หมอบหมายงาน
๓.๒ ประชาสัมพันธ์โครงการและรับขึ้นทะเบียนโดยยื่นคำร้องพร้อมหลักฐานด้วยตัวเองในวันที่ 20 – สิ้นเดือน ของทุกเดือนในวันและเวลาราชการ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง โดยคำร้องดังกล่าวต้องผ่านการคัดกรองของ อสม. และเจ้าหน้าที่ของ PCU ตามที่อยู่ของผู้ยื่นคำขอ พร้อมทั้งปิดประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์ พร้อมนัดวันรับนม – ไข่ ของเดือนถัดไป
๓.๓ ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์ได้รับนม-ไข่ (ที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด)
๓.๔ เจาะหาระดับความเข้มข้นเลือดทุก ๒ เดือน ในกรณีที่มีความเข้มข้นของเลือดน้อยกว่า 33 mg%
๓.๕ ให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการ นมแม่ และพัฒนาการเด็ก รายบุคคล และกลุ่มย่อย
3.6 มอบนมไข่แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
๓.7 มอบชุดพัฒนาการแก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๙๐ ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์
65.00
90.00
- หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 64 ราย ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ จำนวน 62 คน (96.87 %)
2
๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด
ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๙๐ ของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
84.00
90.00
- หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 64 คน ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด จำนวน 61 คน (95.31 %)
3
๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : ๓. ร้อยละ ๗๐ ของทารกแรกคลอดได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
50.00
70.00
- ทารกแรกคลอดรายใหม่ จำนวน 59 คน ได้รับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน จำนวน 52 คน (88.13 %)
4
๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ๔. ร้อยละ ๘๐ ของทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม
93.00
80.00
- ทารกแรกคลอดรายใหม่ จำนวน 59 คน มีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม จำนวน 55 คน (93.21 %)
5
๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน
ตัวชี้วัด : ๕. ร้อยละ ๙๐ ของเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน มีพัฒนาการตามวัย
80.00
90.00
- ทารกแรกคลอดถึง 12 เดือนรายใหม่ จำนวน 59 คน มีพัฒนาการตามวัย จำนวน 58 ราย (98.30 %)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
170
170
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
170
170
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล (2) ๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด (3) ๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (4) ๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ (5) ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7250-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอารมณ์ นวลปาน เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารมณ์ นวลปาน เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
กันยายน 2562
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7250-1-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 405,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะที่มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ เกิดขึ้นมากกว่าปกติ เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆ ของชีวิต ความต้องการสารอาหารและพลังงานระหว่างตั้งครรภ์จึงมีมากกว่าระยะอื่นๆ ถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพสมบูรณ์และให้กำเนิดทารกสมบูรณ์ด้วย ในทางตรงกันข้ามถ้ามารดาได้รับอาหารที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอมักทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง เด็กคลอดก่อนกำหนดหรือแท้ง โลหิตเป็นพิษขณะตั้งครรภ์ เด็กเกิดใหม่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อย ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กต่อไปในอนาคต เทศบาลนครสงขลาเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้ดำเนินการส่งเสริมภาวะโภชนาการในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีฐานะยากจน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเข้าร่วมโครงการ 141 คน มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.96 ทารกที่คลอดทั้งหมดมีจำนวน ๑09 คน มีทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม มีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.๑ ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก(เสริมนม-ไข่) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2 ขึ้น เพื่อให้ส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อันจะส่งผลให้ทารกแรกคลอดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีน้ำหนักไม่ต่ำกว่าเกณฑ์และมีพัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล
- ๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด
- ๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- ๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์
- ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 170 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์
๒. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
๓. ทารกแรกคลอดได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
๔. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตามเกณฑ์และมีสุขภาพอนามัยที่ดี พัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญ
ในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓.๑ ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการดำเนินงาน/หมอบหมายงาน
๓.๒ ประชาสัมพันธ์โครงการและรับขึ้นทะเบียนโดยยื่นคำร้องพร้อมหลักฐานด้วยตัวเองในวันที่ 20 – สิ้นเดือน ของทุกเดือนในวันและเวลาราชการ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง โดยคำร้องดังกล่าวต้องผ่านการคัดกรองของ อสม. และเจ้าหน้าที่ของ PCU ตามที่อยู่ของผู้ยื่นคำขอ พร้อมทั้งปิดประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์ พร้อมนัดวันรับนม – ไข่ ของเดือนถัดไป
๓.๓ ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์ได้รับนม-ไข่ (ที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด)
๓.๔ เจาะหาระดับความเข้มข้นเลือดทุก ๒ เดือน ในกรณีที่มีความเข้มข้นของเลือดน้อยกว่า 33 mg%
๓.๕ ให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการ นมแม่ และพัฒนาการเด็ก รายบุคคล และกลุ่มย่อย
3.6 มอบนมไข่แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
๓.7 มอบชุดพัฒนาการแก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๙๐ ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ |
65.00 | 90.00 |
|
|
2 | ๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๙๐ ของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด |
84.00 | 90.00 |
|
|
3 | ๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ตัวชี้วัด : ๓. ร้อยละ ๗๐ ของทารกแรกคลอดได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน |
50.00 | 70.00 |
|
|
4 | ๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ๔. ร้อยละ ๘๐ ของทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม |
93.00 | 80.00 |
|
|
5 | ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน ตัวชี้วัด : ๕. ร้อยละ ๙๐ ของเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน มีพัฒนาการตามวัย |
80.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 170 | 170 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 170 | 170 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ด้อยโอกาสได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแล (2) ๒. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอดและป้องกันภาวะซีดก่อนคลอด (3) ๓. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (4) ๔. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกคลอดมีน้ำหนัก ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ (5) ๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกคลอดถึง 12 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7250-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอารมณ์ นวลปาน เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......